เป็น FWD เมลล์มาครับ เห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์ ใครที่บริจาคบ่อยๆควรตรวจสอบสิทธิ์นะครับ สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาคโลหิต > 1. ผู้บริจาคโลหิต ตั้งแต่ 7 ครั้งขึ้นไป สามารถขอใช้สิทธิ์ ช่วย > เหลือค่าห้องพิเศษ > และค่าอาหารพิเศษได้ ไม่เกินร้อยละ 50 > 2. ผู้บริจาคโลหิต ตั้งแต่ 16 ครั้งขึ้นไป สามารถขอใช้สิทธิ์ ช่วย > เหลือค่ารักษา > พยาบาล + ค่าห้องพิเศษและค่าอหาร ได้ร้อยละ 50 > 3. ผู้บริจาคโลหิต ตั้งแต่ 24 ครั้งขึ้นไป สามารถขอใช้สิทธิ์ ช่วย > เหลือค่ารักษา > พยาบาล 100% + ค่าห้องพิเศษและค่าอาหาร ได้ร้อยละ 50 > 4. ผู้บริจาคโลหิต ตั้งแต่ 100 ครั้งขึ้นไป สามารถขอใช้สิทธิ์ " ขอพระ > ราชทานเพลิง > ศพ " ได้เป็นกรณีพิเศษ ** เฉพาะผู้บริจาคโลหิตเท่านั้น ไม่สามารถโอนสิทธิ์ > ให้ผู้อื่น > ได้ > > 5 ผู้บริจาคโลหิต ตั้งแต่ 9 ครั้งขึ้นไป สามารถขอใช้สิทธิ์ ตรวจ > วิเคราะห์สารเคมีใน > โลหิตได้ เช่น ตรวตจหาน้ำตาล , ไขมัน , การทำงานของตับ , การทำงานของไต > > ฯลฯ > โดยผู้บริจาคโลหิตสามารถใช้สิทธิ์ได้ ปีละ 1 ครั้ง > เพื่อนๆ พี่ๆ คนใด ที่น้ำหนักตัวเกิน 45 ก . ก . ไม่มีโรคประจำตัว > ไม่ต้องทานยาเป็น > ประจำ ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ > อยากจะชวนไปช่วยกันบริจาคเลือดทุกๆ 3 เดือนเป็นประจำนะคะ เพราะคนไทยส่วน > ใหญ่ มักจะไปบริจาคกันปีละ 2 ครั้งเท่านั้น ซึ่งก็คือ " วันเฉลิมฯ " > ทำให้ช่วงวันเฉลิมจะมีเหลือเข้าสภากาชาด เยอะจนล้น แต่ในขณะที่ไม่ใกล้กับ > วัน > เฉลิมฯ จะมีปัญหาเรื่องเลือดหมดคลัง > จึงอยากจะชวนเพื่อนๆ พี่ๆ ไปบริจาคเลือดกันนะคะ > เพราะนอกจาก เราจะได้ทำบุญ ช่วยชีวิตเพื่อนมนุษย์แล้ว เรายังเป็นการตรวจ > สุขภาพ > ตัวเราเอง ไปในตัวด้วยนะคะ > เพราะถ้าหากสุขภาพเราไม่ดี ทางสภากาชาด เค้าก้อไม่รับบริจาคโลหิตจากเรานะคะ > > Subject: FW: ผลมาจากการบริจาคโลหิตโดยแท้ !!! > คือเรื่องจริง ที่เกิดขึ้นจริง ๆ เป็นผลมาจากการบริจาคโลหิตโดยแท้ !!! > รุ่นพี่ของเราคนหนึ่ง อายุประมาณ 35 ปี ทำงานอยู่ที่ ทีพีไอ สำนักงานใหญ่ > ซึ่งบริษัทมี > สวัสดิการให้ พนักงานตรวจสุขภาพประจำปีทุกปี ผลการตรวจล่าสุดเมื่อปลายปีที่ > แล้ว > ปรากฎว่าพี่เค้าเป็นโรคลิ้น หัวใจรั่ว ซึ่งคุณหมอก็งงเหมือนกัน เพราะเกือบ > ทั้งหมดของคน > ที่เป็นโรคนี้ มักเป็นมาแต่กำเนิด หลังทราบผล พี่เค้าก็ไปปรึกษาคุณหมอ สรุป > ว่า ทาง > เดียวที่จะรอดได้ก็ต้องผ่าตัด เพื่อดูว่าสามารถ ซ่อมลิ้นหัวใจได้หรือไม่ > ถ้าไม่ได้ก็ต้อง > เปลี่ยนใหม่ หลังจากปรึกษาที่รพ.เซ็นหลุยส์ ค่าใช้จ่ายในการ ผ่าตัดประมาณ > 3 –4 > แสนบาท จึงลองไปปรึกษาที่รพ.จุฬาฯ ค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณ 1 แสน > กว่า ๆ จึง > ตัดสินใจไปผ่าตัดที่รพ.จุฬา ฯ > > แต่ก่อนหน้านี้ พี่เค้าบริจาคเลือดทุก ๆ 3 เดือนมาโดยตลอด รวมทั้งหมดที่บริจาค > ก็ 49 > ครั้ง และ พี่เค้าก็ได้รับคำแนะนำมาว่า ทางสภากาชาดจะช่วยเหลือในส่วนของ > ค่าห้องใน > การพักรักษาตัวได้ จึงได้ไปขอจดหมายรับรองจากสภากาชาดไว้ ว่าได้ > บริจาคเลือด > จำนวนครั้งเท่านี้จริง อย่างน้อย ก็จะได้ช่วยลดค่าใช้จ่ายไปได้บ้าง > > พี่เค้าเพิ่งได้รับการผ่าตัดเรียบร้อย เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 48 นี้เอง วัน > ที่ออกจากรพ. ก็ต้อง > ไป > เคลียร์ค่าใช้จ่าย ซึ่งทั้งหมดเป็นเงิน 110,000 บาท แต่พี่เค้าต้อง > จ่ายจริง คือค่ายา > เพียง > 9,800 บาทเท่านั้น เพราะสรุปว่า สภากาชาดออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดให้ เจ้า > หน้าที่ของ > รพ.แจ้งว่า ได้รับสิทธิ์เหมือนกับข้าราชการคนหนึ่ง ส่วนของค่ายาที่ต้องจ่าย > เองนั้น เพราะ > เป็นยาบัญชีประเภทสอง ซึ่งถึงจะเป็นข้าราชการก็ต้องจ่ายส่วนนี้เองเหมือนกัน > เจ้าหน้าที่ > ยังแนะนำอีกว่า เพียงแค่คุณบริจาค เลือดกับสภากาชาดอย่างน้อย 24 ครั้งั้ง > คุณก็จะ > ได้รับสิทธิประโยชน์นี้เหมือนที่รุ่นพี่เราได้รับไปแล้ว > > นี่ถือเป็นโชค 2 ชั้นเลยนะ ได้บุญจากการบริจาคเลือดแล้ว ยังเหมือนได้ > ประกันแถม > มาอีก > ถ้าใครมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงดี ก็พยายามไปบริจาคเลือดไว้นะ แต่ขอย้ำว่า > นับเฉพาะ > ที่บริจาค ไว้กับสภากาชาดเท่านั้นนะ
ของผมบริจาคไปสามครั้งมั๊ง แต่จำไม่ได้ครับ เรียนร.ด. 3 ปี น่าจะได้บริจาคทุกปี ถ้าบริจาคกันตามสูตร ปีละ 4 ครั้ง บริจากต่อเนื่อง 25 ปีก็ได้ 100 ครั้งแล้วครับ