เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="Katop, post: 652364, member: 75789"]เป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย และทำให้ทัศนวิสัยในการมองเห็นสิ่งต่างจากภายในรถของผู้ขับขี่รถเสียไป (ฟีล์มชนิดนี้สังเกตุได้ง่าย จะมีการสะท้อนแสงได้มาก จนบางครั้งถึงกับหวีผม หรือบีบสิวได้) </p><p><br /></p><p>กม.ที่เกี่ยวข้องกับฟีล์มสะท้อนแสง (เฉพาะพ.ร.บ.จราจรทางบกฯ และพ.ร.บ.รถยนต์ฯ) </p><p>1. พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 8 ห้ามมิให้ผู้ใดนำรถที่ไม่อาจแลเห็นทางพอแก่ความปลอดภัยมาใช้ในทางเดินรถ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้อธิบดีมีอำนาจออกระเบียบเกี่ยวกับใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถได้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา </p><p>- ระเบียบกรมตำรวจ ว่าด้วย การใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำ มาใช้ในทางเดินรถ พ.ศ. 2541 ลงวันที่ 24 ก.พ. 2541 </p><p>- ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วย การใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 ลงวันที่ 24 ก.ย.2542 </p><p>- ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วย การยกเลิกการใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ พ.ศ.2544 ลงวันที่ 1 มิ.ย.2544 </p><p><br /></p><p>2. พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ.2522 มาตรา 12 รถใดที่จดทะเบียนแล้ว หากปรากฏในภายหลังว่ารถนั้นมีส่วนควบหรือเครื่องอุปกรณ์สำหรับรถไม่ครบ ถ้วนถูกต้องตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หรือเพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น ห้ามมิให้ผู้ใดใช้รถนั้นจนกว่าจะจัดให้มีครบถ้วนถูกต้องหรือเอาออกแล้ว </p><p><br /></p><p><br /></p><p>ก่อนที่จะมีการบังคับใช้ฟีล์มกรองแสงนั้น ได้มีการต่อต้าน ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมาก ประกอบกับสถานการณ์ในขณะนั้น ไม่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้วัสดุกรองแสง กับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ สมควรที่จะทำการศึกษาความเหมาะสมในเรื่องวัสดุกรองแสงติดรถยนต์ให้เป็นที่ชัดเจนเสียก่อน จึงให้ยกเิกการใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ เมื่อปี พ.ศ.2544 </p><p><br /></p><p>ผลของการยกเลิกกม. ทำให้สามารถติดฟีล์มกรองแสงที่รถได้โดยเสรี เนื่องจากไม่มีกม.บังคับไว้ ประกอบกับได้มีการพัฒนาคุณสมบัติของฟีล์มจากชนิดที่ 1 เป็นชนิดที่ 2 โดยมีหลักสำคัญคือ การเคลือบโลหะลงบนแผ่นฟีล์ม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดแสงหรือความร้อนที่จะผ่านเข้าไปภายในรถ ( Visible Light Transmission ) ซึ่งมีระดับค่าตั้งแต่ 8% - 66% และการสะท้อนแสงหรือความร้อน ( Visible Light Reflectance ) ซึ่งมีระดับค่าตั้งแต่ 5% - 43 % และเป็นที่นิยมของผู้ใช้รถอย่างมาก </p><p><br /></p><p>อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ตามมา คือ ความแตกต่างกันระ หว่างระดับต่ำสุด ( 5% ) และสูงสุดของค่าการสะท้อนแสง ( 43% ) ทำให้รถติดฟีล์มดังกล่าว มีความหลากหลายและแตกต่างกัน ทั้งรถที่มีการสะท้อนแสงน้อยสุดไปจนถึงมากสุด ประกอบกับมีผู้นำรถติดฟีล์มชนิดที่ 3 (สำหรับอาคารสำนักงาน) และนำออกมาใช้ในถนนเพิ่มขึ้น </p><p>ต่อมาในวันที่ 27 ส.ค.2547 ได้มีการร้องเรียนผ่านนายพูลทรัพย์ ปิยะอนันต์ ผู้ตรวจ การแผ่นดินของรัฐสภา ไปยังนายจาตุรนต์ ฉายแสง รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่ง ชาติ กรณีเริ่มมีรถยนต์ติดฟีล์มกันแดดแบบฉาบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดที่ 3 ) ซึ่งเมื่อถูกแสงแดดจะสะท้อนไปเข้าตาผู้ขับรถคันอื่นที่ขับตามมาหรือขับข้างๆ ทำให้ตาพร่า อันก่อให้เกิดอันตรายอย่างยิ่งจากอุบัติเหตุ อีกทั้งง่ายต่อการก่ออาชญากรรม เพราะฟีล์มชนิดดังกล่าวจะไม่เห็นคนข้างใน เนื่อง จากกันสายตาโดยสิ้นเชิง ซึ่งปัญหาอันอาจเกิดภัยอันตรายร้ายแรงดัง กล่าว โดยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาได้ประสพด้วยตัวเองมาแล้ว </p><p><br /></p><p>จึงได้มีการสั่งการโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติในฐานะหน่วย งานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรทั่วประ- เทศทำการประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือผู้ขับขี่รถยนต์ติดฟีล์มกันแดดแบบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดติดอาคารสำนักงาน ) งดใช้ฟีล์มประเภทดัง กล่าว หากพบมีผู้ฝ่าฝืนให้กวดขันจับกุมและดำเนินคดี ในความผิดฐาน เพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปที่รถซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นตาม มีอัตราโทษปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท </p><p><br /></p><p>ปรากฏว่าในการกวดขันจับกุมตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 12 นั้น เนื่องจากไม่ได้มีการกำหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ของค่าการสะท้อนแสงที่อาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นไว้ คงให้เป็นดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรผู้ปฏิบัติในการพิจารณา ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละปัจเจกบุคคล รวมทั้งเวลา ตลอดจนสภาพแวดล้อม รวมทั้งความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนระหว่างผู้ขับขี่รถที่ถูกตรวจจับกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในประเด็นการจับกุมความผิดฐาน ติดฟีล์ม กรองแสง ซึ่งได้มีการยกเลิกกม.ไปแล้ว กับความผิดฐาน เพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปที่รถซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น (สิ่งใดสิ่งหนึ่งในที่นี้ อาจหมายรวมถึงวัสดุอื่นใด เช่น ผ้าม่าน กระดาษ สติกเกอร์โฆษณาต่างๆ มู่ลี่กันแดด ฉากกั้น ฯลฯ ) </p><p><br /></p><p>สำหรับการกำหนดค่ามาตรฐานการสะท้อนแสงของฟีล์ม กร[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="Katop, post: 652364, member: 75789"]เป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย และทำให้ทัศนวิสัยในการมองเห็นสิ่งต่างจากภายในรถของผู้ขับขี่รถเสียไป (ฟีล์มชนิดนี้สังเกตุได้ง่าย จะมีการสะท้อนแสงได้มาก จนบางครั้งถึงกับหวีผม หรือบีบสิวได้) กม.ที่เกี่ยวข้องกับฟีล์มสะท้อนแสง (เฉพาะพ.ร.บ.จราจรทางบกฯ และพ.ร.บ.รถยนต์ฯ) 1. พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 8 ห้ามมิให้ผู้ใดนำรถที่ไม่อาจแลเห็นทางพอแก่ความปลอดภัยมาใช้ในทางเดินรถ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้อธิบดีมีอำนาจออกระเบียบเกี่ยวกับใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถได้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา - ระเบียบกรมตำรวจ ว่าด้วย การใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำ มาใช้ในทางเดินรถ พ.ศ. 2541 ลงวันที่ 24 ก.พ. 2541 - ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วย การใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 ลงวันที่ 24 ก.ย.2542 - ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วย การยกเลิกการใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ พ.ศ.2544 ลงวันที่ 1 มิ.ย.2544 2. พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ.2522 มาตรา 12 รถใดที่จดทะเบียนแล้ว หากปรากฏในภายหลังว่ารถนั้นมีส่วนควบหรือเครื่องอุปกรณ์สำหรับรถไม่ครบ ถ้วนถูกต้องตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หรือเพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น ห้ามมิให้ผู้ใดใช้รถนั้นจนกว่าจะจัดให้มีครบถ้วนถูกต้องหรือเอาออกแล้ว ก่อนที่จะมีการบังคับใช้ฟีล์มกรองแสงนั้น ได้มีการต่อต้าน ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมาก ประกอบกับสถานการณ์ในขณะนั้น ไม่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้วัสดุกรองแสง กับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ สมควรที่จะทำการศึกษาความเหมาะสมในเรื่องวัสดุกรองแสงติดรถยนต์ให้เป็นที่ชัดเจนเสียก่อน จึงให้ยกเิกการใช้วัสดุกรองแสงกับรถที่นำมาใช้ในทางเดินรถ เมื่อปี พ.ศ.2544 ผลของการยกเลิกกม. ทำให้สามารถติดฟีล์มกรองแสงที่รถได้โดยเสรี เนื่องจากไม่มีกม.บังคับไว้ ประกอบกับได้มีการพัฒนาคุณสมบัติของฟีล์มจากชนิดที่ 1 เป็นชนิดที่ 2 โดยมีหลักสำคัญคือ การเคลือบโลหะลงบนแผ่นฟีล์ม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดแสงหรือความร้อนที่จะผ่านเข้าไปภายในรถ ( Visible Light Transmission ) ซึ่งมีระดับค่าตั้งแต่ 8% - 66% และการสะท้อนแสงหรือความร้อน ( Visible Light Reflectance ) ซึ่งมีระดับค่าตั้งแต่ 5% - 43 % และเป็นที่นิยมของผู้ใช้รถอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ตามมา คือ ความแตกต่างกันระ หว่างระดับต่ำสุด ( 5% ) และสูงสุดของค่าการสะท้อนแสง ( 43% ) ทำให้รถติดฟีล์มดังกล่าว มีความหลากหลายและแตกต่างกัน ทั้งรถที่มีการสะท้อนแสงน้อยสุดไปจนถึงมากสุด ประกอบกับมีผู้นำรถติดฟีล์มชนิดที่ 3 (สำหรับอาคารสำนักงาน) และนำออกมาใช้ในถนนเพิ่มขึ้น ต่อมาในวันที่ 27 ส.ค.2547 ได้มีการร้องเรียนผ่านนายพูลทรัพย์ ปิยะอนันต์ ผู้ตรวจ การแผ่นดินของรัฐสภา ไปยังนายจาตุรนต์ ฉายแสง รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่ง ชาติ กรณีเริ่มมีรถยนต์ติดฟีล์มกันแดดแบบฉาบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดที่ 3 ) ซึ่งเมื่อถูกแสงแดดจะสะท้อนไปเข้าตาผู้ขับรถคันอื่นที่ขับตามมาหรือขับข้างๆ ทำให้ตาพร่า อันก่อให้เกิดอันตรายอย่างยิ่งจากอุบัติเหตุ อีกทั้งง่ายต่อการก่ออาชญากรรม เพราะฟีล์มชนิดดังกล่าวจะไม่เห็นคนข้างใน เนื่อง จากกันสายตาโดยสิ้นเชิง ซึ่งปัญหาอันอาจเกิดภัยอันตรายร้ายแรงดัง กล่าว โดยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาได้ประสพด้วยตัวเองมาแล้ว จึงได้มีการสั่งการโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติในฐานะหน่วย งานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขปัญหา ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรทั่วประ- เทศทำการประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือผู้ขับขี่รถยนต์ติดฟีล์มกันแดดแบบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดติดอาคารสำนักงาน ) งดใช้ฟีล์มประเภทดัง กล่าว หากพบมีผู้ฝ่าฝืนให้กวดขันจับกุมและดำเนินคดี ในความผิดฐาน เพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปที่รถซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นตาม มีอัตราโทษปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท ปรากฏว่าในการกวดขันจับกุมตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 12 นั้น เนื่องจากไม่ได้มีการกำหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ของค่าการสะท้อนแสงที่อาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นไว้ คงให้เป็นดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรผู้ปฏิบัติในการพิจารณา ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละปัจเจกบุคคล รวมทั้งเวลา ตลอดจนสภาพแวดล้อม รวมทั้งความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนระหว่างผู้ขับขี่รถที่ถูกตรวจจับกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในประเด็นการจับกุมความผิดฐาน ติดฟีล์ม กรองแสง ซึ่งได้มีการยกเลิกกม.ไปแล้ว กับความผิดฐาน เพิ่มสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปที่รถซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น (สิ่งใดสิ่งหนึ่งในที่นี้ อาจหมายรวมถึงวัสดุอื่นใด เช่น ผ้าม่าน กระดาษ สติกเกอร์โฆษณาต่างๆ มู่ลี่กันแดด ฉากกั้น ฯลฯ ) สำหรับการกำหนดค่ามาตรฐานการสะท้อนแสงของฟีล์ม กร[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...