เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="Katop, post: 652365, member: 75789"]องแสงนั้น ผู้ประกอบการและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จะเป็นผู้ประสานให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน เพื่อใช้กำหนดเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้ถูกต้องต่อไป </p><p><br /></p><p>ดังนั้น เพื่อไม่ให้ผู้ใช้รถที่ติดฟีล์มกรองแสงไปแล้ว ได้รับความเดือดร้อนและเกิดความสับสนอันอาจนำไปสู่ปัญหาความขัดแย้งของสังคม ในขณะที่ยังไม่มีการกำหนดค่ามาตรฐานการสะท้อนแสงของฟีล์มกรองแสง ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น สำหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในวันที่ 27 ก.ย.2547 จึงได้มีบันทึกสั่งการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้ใช้มาตรการประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้ขับขี่และร้านค้าผู้ติดฟีล์มที่อาจเกิดอันตรายดังกล่าวไปพลางก่อน </p><p><br /></p><p>อย่างไรก็ตาม รถที่ติดฟีล์มกันแดดแบบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดติดอาคาร-สำนักงาน ) ซึ่งเป็นชนิดที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นอย่างชัดเจน จะมีการกวดขันจับกุมอย่างเข้ม งวดต่อไป </p><p><br /></p><p>ส่วนรถที่ติดฟีล์มกรองแสงชนิดที่ 1 หรือ ชนิดที่ 2 ไปแล้ว ยังไม่มีความจำเป็นที่จะต้องลอกออกในขณะนี้ สามารถใช้ต่อไปได้ จนกว่าจะมีการกำหนดค่ามาตรฐาน หรือมาตรการในการแก้ไขปัญหาก่อน </p><p><br /></p><p>ปัญหาคือ รถที่กำลังจะติดฟีล์มกรองแสงใหม่ หรือรถใหม่ ยังคงสามารถจะติดฟีล์มได้ แต่ควรทำความเข้าใจในรายละเอียดของฟีล์มที่จะติด ไม่ว่าจะเป็นชนิด ประเภท คุณสมบัติ โครงสร้าง และสิ่งสำคัญที่สุดได้แก่ ค่าการสะท้อนแสง ซึ่งเป็นหน้าที่ของร้านค้าประดับยนต์ที่จะต้องชี้แจงให้ข้อแนะนำกับผู้บริโภคได้เข้าใจอย่างถูกต้อง รวมถึงการให้ร้านค้าผู้ประกอบการออกใบรับรองคุณสมบัติของฟีล์มที่ติเพื่อไว้ตรวจ สอบในอนาคต </p><p><br /></p><p>อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการกวดขันของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรนั้น ยังอยู่บนพื้นฐานของดุลยพินิจที่กม.กำหนดไว้กว้างๆ อาจจะเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรผู้ปฏิบัติกับผู้ขับขี่รถบ้าง ดังนั้นเมื่อมีการตรวจจับและออกใบสั่ง หากยังไม่ยอมรับในดุลยพินิจของเจ้าข้าหน้าที่ตำรวจผู้จับกุม ข้อแนะนำคือ ขอให้นำใบสั่งพร้อมรถไปพบพนักงานสอบสวน สารวัตรจราจรหรือ รองผู้กำกับจราจร หรือหัวหน้าสถานีตำรวจ เพื่อตรวจสอบให้เกิดความถูกต้องและลดความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในที่สุด </p><p><br /></p><p>สรุป ฟิลม์อะไรก็ได้ไม่ผิดกฎหมาย จะผิดต่อเมื่อ เป็นฟิล์มปรอท หรือติดเกิน25% ของกระจกบานหน้าคับ(ผมสรุปเองจากที่เข้าใจ) </p><p><br /></p><p>เรื่อง การจับความเร็ว </p><p><br /></p><p>อยากร่วมรณรงค์ทุกเรื่องเกี่ยวกับกับการใช้รถบนท้องถนน คือผมอยากทราบว่า กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้เรื่องกำหนดความเร็ว 90 กม./ชม. เจาะจงพื้นที่หรือไม่ </p><p>คำตอบ </p><p>1. ความเร็วตามที่กฎหมายกำหนดสำหรับประเทศไทยนั้นแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน </p><p>1.1 ความเร็วตามที่กม.กำหนด ซึ่งเป็นกฎกระทรวงออกตามพ.ร.บ.จราจรทางบก ฯ ระบุไว้โดยสรุปดังนี้ </p><p>- รถส่วนบุคคล รถเก๋ง รถแท็กซี่ รถปิคอัพขนาด 1 ตัน </p><p>-ใข้ความเร็วในกทม.หรือ เขตเทศบาล ได้ไม่เกิน 80 กม.ต่อชม. </p><p>-ใช้ความเร็วนอกเขตกทม.หรือนอกเขตเทศบาลใช้ความเร็วได้ไม่เกิน 90 กม.ต่อชม. </p><p>- ซึ่งความเร็วดังกล่าวข้างต้นรวมถึงบนทางด่วนทุกขั้น (ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร) ด้วย </p><p>1.2 ยกเว้นทางมอเตอร์เวย์ มีกม.ระบุไว้เป็นการเฉพาะให้วิ่งได้ไม่เกิน 120 กม.ต่อชม. เหตุที่เป็นเช่นนี้เข้าใจว่า เพราะมอเตอร์เวย์เป็นทางในระดับพื้นราบ ไม่มีทางโค้ง หรือจุดที่เกิดอันตรายมาก และส่วนใหญ่เป็นเส้นทางตรงๆ ไม่ค่อยมีทางร่วมหรือทางเชื่อม ทำให้รถสามารถใช้ความเร็วได้มากอย่างปลอดภัย </p><p>แต่บนทางด่วน มีทางเชื่อม ทางขึ้นลง ทางแยก รวมทั้ง มีทางโค้ง โคงหักศอก เป็นทางยกระดับ ทางลาดชัน อาจเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายหากใช้ความเร็วสูง ซึ่งก็มีตัวอย่างให้เห็นบ่อยๆ กรณีรถเกิดอุบัติเหตุแล้ว ตกลงจากทางด่วนลงมาพื้นราบ ทำให้คนไม่รู้เรื่องรู้ราวด้านล่างตายไปหลายกรณีแล้ว </p><p>1.3 กรณีการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจนั้น ส่วนใหญ่จะบังคับใช้หรือเข้มวงดกับรถที่ขับรถเร็วจนผิด ปกคิ หรือใกล้จุดที่น่าจะเกิดอันตราย เช่น แหล่งชุมชน เป็นต้น และจะมีการใช้เครื่องเรดาห์ในการตรวจจับโดยเครื่องดังกล่าวได้รับการรับรองความมาตรฐานจากกองทัพอากาศ เป็นระยะๆ เพื่อกันปัญหาร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนทางด่วน จะมีการเรียกตรวจจับที่ความเร็วเกินกว่า 110 กม.ต่อชม. โดยผู้ขับขี่จะถูกเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่รถ และออกใบแทน ( ใบสั่ง) ให้รับไป ซึ่งกม.กำหนดอัตราโทษไว้ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ส่วนใหญ่พนักงานสอบสวนจะปรับ ไม่เกิน 500 บาท แต่จะถูกยึดใบขับขี่ตามมาตรการบันทึกคะแนน ไว้ 15 วัน หลังจากนั้นมารับใบขับขี่คืนได้โรงพักที่เราเสียค่าปรับ </p><p>ปกติการจับกุมผู้ขับขี่รถเร็วกว่ากม.กำหนดก็ได้ทำเป็นเหตุการณ์ประจำวันอยู่แล้ว แต่บางสน.ไม่มีพื้นที่ให้จับเนื่องจากไม่มีระยะทางไกลๆในการยิงด้วยเครื่องตรวจจับ เฉลี่ยเดือนละประมาณ 1,000 ราย[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="Katop, post: 652365, member: 75789"]องแสงนั้น ผู้ประกอบการและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จะเป็นผู้ประสานให้สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน เพื่อใช้กำหนดเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้ถูกต้องต่อไป ดังนั้น เพื่อไม่ให้ผู้ใช้รถที่ติดฟีล์มกรองแสงไปแล้ว ได้รับความเดือดร้อนและเกิดความสับสนอันอาจนำไปสู่ปัญหาความขัดแย้งของสังคม ในขณะที่ยังไม่มีการกำหนดค่ามาตรฐานการสะท้อนแสงของฟีล์มกรองแสง ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่น สำหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในวันที่ 27 ก.ย.2547 จึงได้มีบันทึกสั่งการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้ใช้มาตรการประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้ขับขี่และร้านค้าผู้ติดฟีล์มที่อาจเกิดอันตรายดังกล่าวไปพลางก่อน อย่างไรก็ตาม รถที่ติดฟีล์มกันแดดแบบปรอทสะท้อนแสง ( ชนิดติดอาคาร-สำนักงาน ) ซึ่งเป็นชนิดที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้อื่นอย่างชัดเจน จะมีการกวดขันจับกุมอย่างเข้ม งวดต่อไป ส่วนรถที่ติดฟีล์มกรองแสงชนิดที่ 1 หรือ ชนิดที่ 2 ไปแล้ว ยังไม่มีความจำเป็นที่จะต้องลอกออกในขณะนี้ สามารถใช้ต่อไปได้ จนกว่าจะมีการกำหนดค่ามาตรฐาน หรือมาตรการในการแก้ไขปัญหาก่อน ปัญหาคือ รถที่กำลังจะติดฟีล์มกรองแสงใหม่ หรือรถใหม่ ยังคงสามารถจะติดฟีล์มได้ แต่ควรทำความเข้าใจในรายละเอียดของฟีล์มที่จะติด ไม่ว่าจะเป็นชนิด ประเภท คุณสมบัติ โครงสร้าง และสิ่งสำคัญที่สุดได้แก่ ค่าการสะท้อนแสง ซึ่งเป็นหน้าที่ของร้านค้าประดับยนต์ที่จะต้องชี้แจงให้ข้อแนะนำกับผู้บริโภคได้เข้าใจอย่างถูกต้อง รวมถึงการให้ร้านค้าผู้ประกอบการออกใบรับรองคุณสมบัติของฟีล์มที่ติเพื่อไว้ตรวจ สอบในอนาคต อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการกวดขันของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรนั้น ยังอยู่บนพื้นฐานของดุลยพินิจที่กม.กำหนดไว้กว้างๆ อาจจะเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรผู้ปฏิบัติกับผู้ขับขี่รถบ้าง ดังนั้นเมื่อมีการตรวจจับและออกใบสั่ง หากยังไม่ยอมรับในดุลยพินิจของเจ้าข้าหน้าที่ตำรวจผู้จับกุม ข้อแนะนำคือ ขอให้นำใบสั่งพร้อมรถไปพบพนักงานสอบสวน สารวัตรจราจรหรือ รองผู้กำกับจราจร หรือหัวหน้าสถานีตำรวจ เพื่อตรวจสอบให้เกิดความถูกต้องและลดความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในที่สุด สรุป ฟิลม์อะไรก็ได้ไม่ผิดกฎหมาย จะผิดต่อเมื่อ เป็นฟิล์มปรอท หรือติดเกิน25% ของกระจกบานหน้าคับ(ผมสรุปเองจากที่เข้าใจ) เรื่อง การจับความเร็ว อยากร่วมรณรงค์ทุกเรื่องเกี่ยวกับกับการใช้รถบนท้องถนน คือผมอยากทราบว่า กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้เรื่องกำหนดความเร็ว 90 กม./ชม. เจาะจงพื้นที่หรือไม่ คำตอบ 1. ความเร็วตามที่กฎหมายกำหนดสำหรับประเทศไทยนั้นแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน 1.1 ความเร็วตามที่กม.กำหนด ซึ่งเป็นกฎกระทรวงออกตามพ.ร.บ.จราจรทางบก ฯ ระบุไว้โดยสรุปดังนี้ - รถส่วนบุคคล รถเก๋ง รถแท็กซี่ รถปิคอัพขนาด 1 ตัน -ใข้ความเร็วในกทม.หรือ เขตเทศบาล ได้ไม่เกิน 80 กม.ต่อชม. -ใช้ความเร็วนอกเขตกทม.หรือนอกเขตเทศบาลใช้ความเร็วได้ไม่เกิน 90 กม.ต่อชม. - ซึ่งความเร็วดังกล่าวข้างต้นรวมถึงบนทางด่วนทุกขั้น (ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร) ด้วย 1.2 ยกเว้นทางมอเตอร์เวย์ มีกม.ระบุไว้เป็นการเฉพาะให้วิ่งได้ไม่เกิน 120 กม.ต่อชม. เหตุที่เป็นเช่นนี้เข้าใจว่า เพราะมอเตอร์เวย์เป็นทางในระดับพื้นราบ ไม่มีทางโค้ง หรือจุดที่เกิดอันตรายมาก และส่วนใหญ่เป็นเส้นทางตรงๆ ไม่ค่อยมีทางร่วมหรือทางเชื่อม ทำให้รถสามารถใช้ความเร็วได้มากอย่างปลอดภัย แต่บนทางด่วน มีทางเชื่อม ทางขึ้นลง ทางแยก รวมทั้ง มีทางโค้ง โคงหักศอก เป็นทางยกระดับ ทางลาดชัน อาจเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายหากใช้ความเร็วสูง ซึ่งก็มีตัวอย่างให้เห็นบ่อยๆ กรณีรถเกิดอุบัติเหตุแล้ว ตกลงจากทางด่วนลงมาพื้นราบ ทำให้คนไม่รู้เรื่องรู้ราวด้านล่างตายไปหลายกรณีแล้ว 1.3 กรณีการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจนั้น ส่วนใหญ่จะบังคับใช้หรือเข้มวงดกับรถที่ขับรถเร็วจนผิด ปกคิ หรือใกล้จุดที่น่าจะเกิดอันตราย เช่น แหล่งชุมชน เป็นต้น และจะมีการใช้เครื่องเรดาห์ในการตรวจจับโดยเครื่องดังกล่าวได้รับการรับรองความมาตรฐานจากกองทัพอากาศ เป็นระยะๆ เพื่อกันปัญหาร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนทางด่วน จะมีการเรียกตรวจจับที่ความเร็วเกินกว่า 110 กม.ต่อชม. โดยผู้ขับขี่จะถูกเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่รถ และออกใบแทน ( ใบสั่ง) ให้รับไป ซึ่งกม.กำหนดอัตราโทษไว้ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ส่วนใหญ่พนักงานสอบสวนจะปรับ ไม่เกิน 500 บาท แต่จะถูกยึดใบขับขี่ตามมาตรการบันทึกคะแนน ไว้ 15 วัน หลังจากนั้นมารับใบขับขี่คืนได้โรงพักที่เราเสียค่าปรับ ปกติการจับกุมผู้ขับขี่รถเร็วกว่ากม.กำหนดก็ได้ทำเป็นเหตุการณ์ประจำวันอยู่แล้ว แต่บางสน.ไม่มีพื้นที่ให้จับเนื่องจากไม่มีระยะทางไกลๆในการยิงด้วยเครื่องตรวจจับ เฉลี่ยเดือนละประมาณ 1,000 ราย[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...