เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="Katop, post: 652366, member: 75789"]การขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม.ต่อชม. อาจดูช้าไปบ้างในเขตกรุงเทพฯ แต่เป็นความเร็วที่เมื่อเกิดอุบัติเหตุจะลดความรุนแรงของความบางเจ็บได้ รวมทั้งเป็นความเร็วที่ประหยัดน้ำมันในยุคพนักงานเชื้อเพลิงมีราคาแพง ส่วนผลต่างของเวลาระหว่าง 90 กม.ต่อชม. กับ 110 ก.ม.ต่อชม. จะไม่มีความแตกต่างกันมากนัก </p><p><br /></p><p>เรื่องรถกระบะกับทางด่วน </p><p><br /></p><p>รายละเอียดที่ห้ามไม่ให้รถกระบะไม่มีหลังคาขึ้นบนทางด่วน ตกลงข้อสรุปหรือ กม เป็นไงครับ </p><p>คำตอบ </p><p>อาจเป็นเรื่องสับสนอยู่มากสำหรับข่าวการห้ามรถกระบะขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน เนื่องจากมีการนำเสนอข่าวในหลายๆช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ทางNet ซึ่งการนำเสนอดังกล่าวจะมีความแตกต่างกันไปในรายละเอียด ค่อนข้างมาก ประกอบกับมีการเสนอเรื่องป้ายทะเบียนรถสีเขียว สีฟ้า สีน้ำเงิน สีขาว และการเสียภาษีรถที่แตกต่างกัน อีกด้วย จึงทำให้ผู้คนสับสนมาก </p><p>ขอสรุปที่เกี่ยวข้องในการขับขี่รถโดยตรงดังนี้ </p><p>1. ทางด่วนมีไว้สำหรับให้รถวิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าปกติ แม้กม.จะบัญญัติให้รถเก๋ง ปิคอัพ วิ่งบนทางด่วนได้เพียง 80 กม.ต่อชม.ก็ตาม แต่ในข้อเท็จจริงเนื่องจากเป็นทางมีความพิเศษกว่าทางอื่นๆ เห็นได้ชัดว่า ต้องเสียค่าผ่านทาง ไม่มีสัญญาณไฟ ไม่อนุญาตให้รถบางประเภทเช่น จยย. รถสามล้อเครื่องขึ้นไปวิ่ง เป็นต้น ดังนั้น ข้อเท็จจริง รถส่วนใหญ่จะใช้ความเร็วได้สูง ทางสน.ทางด่วนเองก็ผ่อนผันให้วิ่งได้ถึง 110 กม.ต่อชม. สรุปภาพรวมเป็นทางที่รถวิ่งด้วยความเร็วสูงทั้งสิ้น อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจะมีความรุนแรงมากกว่าบนพื้นราบ </p><p>2. ตัวอย่างที่เห็นกันเป็นประจำขณะนี้ คือ มีรถปิคอัพบรรทุกสิ่งของต่างๆ หรือคนไว้ที่ท้ายกระบะ แล้วไปเกิดเหตุ ของตกหล่นบนพื้นทางทำให้รถที่วิ่งตามหลังมาเกิดอุบัติเหตุ หรือมีอุบัติเหตุรถชนกันหรือเสียหลักไปชนแผงกันตก ทำให้คนตกหรือกระเด็นตกจากรถ บางครั้งตกลงจากทางด่วน เสียชีวิตไปก็มีให้เห็นตามข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยๆ </p><p>3. จากเหตุผลของข้อ 1 และ 2 ทำให้กองบังคับการตำรวจจราจร กองกบัญชาการตำรวจนครบาล ตระหนักถึงภัยดังกล่าว จึงได้ประสานกับการทางพิเศษ ห้ามรถปิคอัพที่บรรทุกคนหรือของที่ไม่จัดให้มีสิ่งป้องกันอย่างหนาแน่น ขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ </p><p>3.1 รถปิคอัพที่บรรทุกสิ่งของต่างๆ เช่นบรรทุกเหล็กเส้น เหล็กแปป อลูมิเนียม ไม้แปรรูป รวมถึงสิ่งของต่างๆเมื่อจะย้ายบ้าน เป็นต้น โดยจะต้องมัดด้วยเชือกหรือวัสดุที่ยึดเหนี่ยวได้อย่างแน่นหนา ไม่ให้ของที่บรรทุกตกหล่นลงมา หรือจัดทำเป็นคอกหรือแผงกั้น ( กรณีนี้ก็ยังคงจะมีปัญหาอีก ในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพรถให้ผิดไปจากที่จดทะเบียนไว้กับการนายทะเบียนขนส่ง - ซึ่งจะกล่าวถึงในโอกาสต่อไป เพราะเรื่องค่อนข้างยาว ) </p><p>3.2 รถปิคอัพ หากจะบรรทุก คน จะต้องมีที่นั่งสำหรับนั่ง และมีหลังคาเพื่อคุ้มแดด คุ้มฝนให้กับผู้โดยสาร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยไม่ให้ตกหรือกระเด็นออกจากรถเมื่อเกิดอุบัติเหตุ และให้มีที่สำหรับจับหรือยึดเหนี่ยวไว้ไม่ให้กระเด็นออกจากรถเช่นเดียวกัน </p><p>สรุป - ทางด่วนไม่ได้ห้ามรถปิคอัพหรือกระกระบะไม่มีหลังคาขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน </p><p>- หากรถปิคอัพจะบรรทุกคนต้องมีที่นั่งและหลังคา จะบรรทุกคนบนกระบะเปล่าๆเหมือนก่อนไม่ได้ </p><p>- หากรถปิคอัพจะบรรทุกสิ่งของ จะต้องมีเครื่องป้องกัน เช่นมีแผงกั้น มีโครงเหล็ก มีเชือกหรือสายรัดสิ่งของไว้ กันไม่ให้ตกหล่นลงมา ถ้าปฏิบัติเช่นนี้แล้วก็สามารถวิ่งบนทางด่วนโดยไม่ถูกจับ ขอให้โชคดีครับ </p><p><br /></p><p>เรื่องรถกระบะกับการจดทะเบียนบรรทุก </p><p><br /></p><p>ผมอยากทราบว่ารถกระบะ 4 ประตู พื้นที่กระบะสามารถบรรทุกสิ่งของหรือคนได้หรือไม่ ถ้าเป็นสิ่งของสามารถบรรทุกเกินขึ้นมาจากขอบกระบะได้หรือไม่ </p><p>คำตอบ </p><p>ประเทศไทยเป็นประเทศที่จัดได้ว่ามีรถกะบะ(รถปิคอัพ) มากที่สุดประเทศหนึ่ง เนื่องจากกม. เปิดช่องให้ รถกะบะสามารถจดทะเบียนได้ถึง 2 ประเภท 1.รถนั่งสองแถวบุคคล 2. รถบรรทุกส่วนบุคคล ทั้งๆที่เป็นรถยี่ห้อ รุ่น สี ราคา เดียวกัน ซึ่งทำให้เกิดคำว่า รถเอนกประสงค์ ซึ่งในกม.ไม่มีบัญญัติไว้แต่อย่างใด </p><p>1. รถกะบะที่จดทะเบียนเป็นรถนั่งสองแถวบุคคล นั้น จะต้องมีที่นั่ง 2 แถว ( คนนั่งหันหน้าเข้าหากัน) และต้องมีหลังคา เพื่อใช้สำหรับคุ้มแดดคุ้มฝนให้กับผู้โดยสาร และต้องใช้รถในลักษณะดังกล่าวเท่านั้น ไม่สามารถไปเปลี่ยนแปลง เช่น เอาเบาะออก หรือเอาหลังคาออก เพราะมีการจดทะเบียนเป็นประเภท รถนั่งสองแถวบุคคล รถประเภทนี้สามารถบรรทุกของได้ ซึ่งไม่ค่อยมีปัญหา แต่ก็ต้องบรรทุกให้อยู่ภายในกะบะใต้หลังคา ยกเว้นแต่มีการบรรทุกกว้าง ยาวเกินกว่าตัวรถ ก็เป็นอีกกรณีหนึ่ง </p><p>2. รถกะบะที่จดทะเบียนเป็นรถบรรทุกส่วนบุคคล จะต้องเป็นรถที่เป็นกะบะเปล่า ไม่ต้องมีที่นั่งหรือหลังคาแต่อย่างใด เพราะตอนจดทะเบียนเป็นบรรทุกส่วนบุคคล หากมีการไปใส่หลังคาหรือที่นั่ง จะมีความผิดตามกม. รถประเภทนี้สามารถบรรทุกสิ่งของต่างๆไ[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="Katop, post: 652366, member: 75789"]การขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม.ต่อชม. อาจดูช้าไปบ้างในเขตกรุงเทพฯ แต่เป็นความเร็วที่เมื่อเกิดอุบัติเหตุจะลดความรุนแรงของความบางเจ็บได้ รวมทั้งเป็นความเร็วที่ประหยัดน้ำมันในยุคพนักงานเชื้อเพลิงมีราคาแพง ส่วนผลต่างของเวลาระหว่าง 90 กม.ต่อชม. กับ 110 ก.ม.ต่อชม. จะไม่มีความแตกต่างกันมากนัก เรื่องรถกระบะกับทางด่วน รายละเอียดที่ห้ามไม่ให้รถกระบะไม่มีหลังคาขึ้นบนทางด่วน ตกลงข้อสรุปหรือ กม เป็นไงครับ คำตอบ อาจเป็นเรื่องสับสนอยู่มากสำหรับข่าวการห้ามรถกระบะขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน เนื่องจากมีการนำเสนอข่าวในหลายๆช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ทางNet ซึ่งการนำเสนอดังกล่าวจะมีความแตกต่างกันไปในรายละเอียด ค่อนข้างมาก ประกอบกับมีการเสนอเรื่องป้ายทะเบียนรถสีเขียว สีฟ้า สีน้ำเงิน สีขาว และการเสียภาษีรถที่แตกต่างกัน อีกด้วย จึงทำให้ผู้คนสับสนมาก ขอสรุปที่เกี่ยวข้องในการขับขี่รถโดยตรงดังนี้ 1. ทางด่วนมีไว้สำหรับให้รถวิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าปกติ แม้กม.จะบัญญัติให้รถเก๋ง ปิคอัพ วิ่งบนทางด่วนได้เพียง 80 กม.ต่อชม.ก็ตาม แต่ในข้อเท็จจริงเนื่องจากเป็นทางมีความพิเศษกว่าทางอื่นๆ เห็นได้ชัดว่า ต้องเสียค่าผ่านทาง ไม่มีสัญญาณไฟ ไม่อนุญาตให้รถบางประเภทเช่น จยย. รถสามล้อเครื่องขึ้นไปวิ่ง เป็นต้น ดังนั้น ข้อเท็จจริง รถส่วนใหญ่จะใช้ความเร็วได้สูง ทางสน.ทางด่วนเองก็ผ่อนผันให้วิ่งได้ถึง 110 กม.ต่อชม. สรุปภาพรวมเป็นทางที่รถวิ่งด้วยความเร็วสูงทั้งสิ้น อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจะมีความรุนแรงมากกว่าบนพื้นราบ 2. ตัวอย่างที่เห็นกันเป็นประจำขณะนี้ คือ มีรถปิคอัพบรรทุกสิ่งของต่างๆ หรือคนไว้ที่ท้ายกระบะ แล้วไปเกิดเหตุ ของตกหล่นบนพื้นทางทำให้รถที่วิ่งตามหลังมาเกิดอุบัติเหตุ หรือมีอุบัติเหตุรถชนกันหรือเสียหลักไปชนแผงกันตก ทำให้คนตกหรือกระเด็นตกจากรถ บางครั้งตกลงจากทางด่วน เสียชีวิตไปก็มีให้เห็นตามข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยๆ 3. จากเหตุผลของข้อ 1 และ 2 ทำให้กองบังคับการตำรวจจราจร กองกบัญชาการตำรวจนครบาล ตระหนักถึงภัยดังกล่าว จึงได้ประสานกับการทางพิเศษ ห้ามรถปิคอัพที่บรรทุกคนหรือของที่ไม่จัดให้มีสิ่งป้องกันอย่างหนาแน่น ขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ 3.1 รถปิคอัพที่บรรทุกสิ่งของต่างๆ เช่นบรรทุกเหล็กเส้น เหล็กแปป อลูมิเนียม ไม้แปรรูป รวมถึงสิ่งของต่างๆเมื่อจะย้ายบ้าน เป็นต้น โดยจะต้องมัดด้วยเชือกหรือวัสดุที่ยึดเหนี่ยวได้อย่างแน่นหนา ไม่ให้ของที่บรรทุกตกหล่นลงมา หรือจัดทำเป็นคอกหรือแผงกั้น ( กรณีนี้ก็ยังคงจะมีปัญหาอีก ในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพรถให้ผิดไปจากที่จดทะเบียนไว้กับการนายทะเบียนขนส่ง - ซึ่งจะกล่าวถึงในโอกาสต่อไป เพราะเรื่องค่อนข้างยาว ) 3.2 รถปิคอัพ หากจะบรรทุก คน จะต้องมีที่นั่งสำหรับนั่ง และมีหลังคาเพื่อคุ้มแดด คุ้มฝนให้กับผู้โดยสาร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยไม่ให้ตกหรือกระเด็นออกจากรถเมื่อเกิดอุบัติเหตุ และให้มีที่สำหรับจับหรือยึดเหนี่ยวไว้ไม่ให้กระเด็นออกจากรถเช่นเดียวกัน สรุป - ทางด่วนไม่ได้ห้ามรถปิคอัพหรือกระกระบะไม่มีหลังคาขึ้นไปวิ่งบนทางด่วน - หากรถปิคอัพจะบรรทุกคนต้องมีที่นั่งและหลังคา จะบรรทุกคนบนกระบะเปล่าๆเหมือนก่อนไม่ได้ - หากรถปิคอัพจะบรรทุกสิ่งของ จะต้องมีเครื่องป้องกัน เช่นมีแผงกั้น มีโครงเหล็ก มีเชือกหรือสายรัดสิ่งของไว้ กันไม่ให้ตกหล่นลงมา ถ้าปฏิบัติเช่นนี้แล้วก็สามารถวิ่งบนทางด่วนโดยไม่ถูกจับ ขอให้โชคดีครับ เรื่องรถกระบะกับการจดทะเบียนบรรทุก ผมอยากทราบว่ารถกระบะ 4 ประตู พื้นที่กระบะสามารถบรรทุกสิ่งของหรือคนได้หรือไม่ ถ้าเป็นสิ่งของสามารถบรรทุกเกินขึ้นมาจากขอบกระบะได้หรือไม่ คำตอบ ประเทศไทยเป็นประเทศที่จัดได้ว่ามีรถกะบะ(รถปิคอัพ) มากที่สุดประเทศหนึ่ง เนื่องจากกม. เปิดช่องให้ รถกะบะสามารถจดทะเบียนได้ถึง 2 ประเภท 1.รถนั่งสองแถวบุคคล 2. รถบรรทุกส่วนบุคคล ทั้งๆที่เป็นรถยี่ห้อ รุ่น สี ราคา เดียวกัน ซึ่งทำให้เกิดคำว่า รถเอนกประสงค์ ซึ่งในกม.ไม่มีบัญญัติไว้แต่อย่างใด 1. รถกะบะที่จดทะเบียนเป็นรถนั่งสองแถวบุคคล นั้น จะต้องมีที่นั่ง 2 แถว ( คนนั่งหันหน้าเข้าหากัน) และต้องมีหลังคา เพื่อใช้สำหรับคุ้มแดดคุ้มฝนให้กับผู้โดยสาร และต้องใช้รถในลักษณะดังกล่าวเท่านั้น ไม่สามารถไปเปลี่ยนแปลง เช่น เอาเบาะออก หรือเอาหลังคาออก เพราะมีการจดทะเบียนเป็นประเภท รถนั่งสองแถวบุคคล รถประเภทนี้สามารถบรรทุกของได้ ซึ่งไม่ค่อยมีปัญหา แต่ก็ต้องบรรทุกให้อยู่ภายในกะบะใต้หลังคา ยกเว้นแต่มีการบรรทุกกว้าง ยาวเกินกว่าตัวรถ ก็เป็นอีกกรณีหนึ่ง 2. รถกะบะที่จดทะเบียนเป็นรถบรรทุกส่วนบุคคล จะต้องเป็นรถที่เป็นกะบะเปล่า ไม่ต้องมีที่นั่งหรือหลังคาแต่อย่างใด เพราะตอนจดทะเบียนเป็นบรรทุกส่วนบุคคล หากมีการไปใส่หลังคาหรือที่นั่ง จะมีความผิดตามกม. รถประเภทนี้สามารถบรรทุกสิ่งของต่างๆไ[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
HILUX Club
>
++++++++++ กฎหมายใกล้ตัวที่ควรทราบครับ +++++++++
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...