เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
Civic ES Group
>
กระทู้พูดคุยเรื่อง NGV & LPG
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE=".:: ป๋องแป๋ง ::., post: 656944, member: 30230"]<span style="color: Yellow">ถ้าช่างบอกว่าต่อผ่าน รีเลย์ ก็ แสดงว่าตัดล่ะครับ </span></p><p><span style="color: Yellow">จิงมันมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ครับ </span></p><p><span style="color: Yellow">ถ้าไม่ตัด ก็ควรเติมน้ำมันไว้ เยอะหน่อย </span></p><p><span style="color: Yellow">ถ้าตัดผมว่าควรใช้สวิทย์ แบบเมนวลครับ เพราะ ถ้าตัดเลย เวลาเรียกน้ำมันหรือตอนแก้สหมด กว่าน้ำมันจะ มา เครื่องอาจมีอาการกะตุกรอบตกแล้ว </span></p><p><span style="color: Yellow">ถ้าตัดแบบเมนวลผมว่าดีครับ เพราะ ถ้าในกรณี ท่อน้ำมันร่ำซึม เราสามารถ กดปิดระบบ น้ำมัน และ สตาร์ทแก้ส วิ่งได้อยู่แล้วไป ซ่อม ครับ </span></p><p><span style="color: Yellow">แต่ถ้า ไม่ตัด แล้วท่อน้ำมันรั่ว ควรลากจูง ไม่ควรสตาร์ท เพราะอาจเกิดไฟไหม้ ได้ </span></p><p><br /></p><p><span style="color: Yellow">ความเป็นจริงคืออะไร </span></p><p><span style="color: Yellow">ชุดติดตั้งระบบแก๊สหัวฉีดทุกยี่ห้อป็นระบบอัตโนมัติ ได้รับการออกแบบมาให้สามารถเปลี่ยนการใช้งาน จากแก๊สเป็นน้ำมันได้อย่างทันทีทันใด เมื่อแก๊สหมด โดยไม่มีอาการสะดุด และในทำนองกลับกันก็สามารถสลับจากการใช้น้ำมันไปเป็น แก๊สได้เมื่อต้องการ โดยไม่สะดุด เช่นกัน ฉนั้นจึงมีความจำเป็นอยู่เองที่ระบบจะต้องมีเชื้อเพลิง อยู่พร้อมใช้งานตลอดเวลาครับ คือต้องมีเชื้อเพลิงอยู่เต็มในท่อร่วมเชื้อเพลิง ( Fuel rail ) ไม่ว่าจะเป็น ท่อร่วมน้ำมันเชื้อเพลิง ( Fuel common rail )และท่อร่วมแก๊ส ( Gas common rail หรือ บางยี่ห้อเรียกว่า Injector Rail) เพื่อให้ระบบมีความพร้อมที่จะเปลี่ยนสลับไปมาโดยไม่ต้องรอการเดินทางมาของเชื้อเพลิงนั้นๆหรือจะทำให้เกิดอาการสะดุด เนื่องจากขาดความต่อเนื่องของการจ่ายของระบบเชื้อเพลิง นั่นเอง </span></p><p><span style="color: Yellow">มาดูหลักการทำงานของระบบน้ำมันซึ่งเป็นแบบนี้เกือบทุกยี่ห้อ ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงของระบบจะทำงานทันทีที่เราเปิดสวิทช์กุญแจและสตาร์ทเครื่องยนต์ป๊มน้ำมันเชื้อเพลิงจะทำงานตลอดเวลา และจะต้องมีน้ำมันเต็มรางอยู่เสมอเมื่อติดเครื่องยนต์ หรือเมื่อเครื่องยนต์ทำงาน และความพร้อมนี้ ต้องมีแรงดันประมาณ 40-50-60 psi แล้วแต่ชนิดของเครื่องยนต์ ซึ่งแรงดันตัวนี้ก็จะถูกควบคุมด้วย Pressure regulator หรือ Pressure sensor โดยรายงานผลไปที่ ECU ด้วย ซึ่งจะควบคุมการทำงานของปั๊มเชื้อเพลิงให้เหมาะสม โดยมีการควบคุมแรงดันส่วนเกิน ( เมื่อเกิดการถอนคันเร่ง เบรค ทันทีทันใด) หรือ ไม่เพียงพอหรือขาดไป ( เมื่อเกิดการกดคันเร่ง แซง ทันทีทันใด) ให้สม่ำเสมอตลอดเวลาเพื่อให้การทำงานของหัวฉีดมีความสมบูรณ์ที่สุด โดยอาจจะใช้ระบบไหลกลับ ( Return line ) หรือระบบควบคุมรอบการหมุนของปั๊มเชื้อเพลิง ( Returnless system) และไม่มีเหตุผลใดที่ในระบบจะมีแรงดันมากกว่าที่กำหนดไปได้ เพราะจะมีการควบคุมแรงดันให้คงที่ไม่มากหรือน้อยกว่าที่กำหนดอยู่แล้ว และระบบก็จะไม่เสียหายเพราะแรงดันมากเกินไป เพราะมันจะไม่มากกว่าที่ระบบกำหนดแน่นอนเพราะมีการ ควบคุมโดย Pressure Regulator และ ECU ครับ </span></p><p><span style="color: Yellow">แล้วทำไมรถของผม ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงเสียหายหรือท่อน้ำมันแตก </span></p><p><span style="color: Yellow">1. พึ่งระลึกไว้เสมอว่า อะไหล่ทุกชิ้นมีอายุการใช้งาน ไม่มีอะไหล่ตัวไหนมีอายุไม่จำกัด ไม่ว่าจะเป็นตัวป็มเอง ท่อน้ำมันไป และกลับ เป็นต้น ฉนั้นผมยังเชื่อว่ามันเสื่อมสภาพตามอายุการใช้เป็นส่วนมากครับ แต่มันบังเอิญมาเสียหรือเสื่อมสภาพในช่วงที่ท่านติดตั้งระบบแก๊สเท่านั้นครับ การติดตั้งแก๊สก็เลยเป็นจำเลยคนที่หนึ่งเท่านั้นเองครับ </span></p><p><span style="color: Yellow">2. มีอีกสาเหตุที่พบบ่อยคือท่านที่ใช้แก๊ส จะเหลือน้ำมันติดก้นถังเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และนั้นจะเป็นสาเหตุให้ป็มของท่านได้รับการระบายความร้อนไม่เพียงพอ เนื่องจากป็มเชื้อเพลิงต้องการระบายความร้อนจากน้ำมันเชื้อเพลิงนั่นเอง หากมีระดับน้ำมันเชื้อเพลิงน้อยเกินไปก็จะทำให้ปั้มของท่านร้อนเร็วกว่าปกติและจะเป็นสาเหตุหลัก ที่ทำให้ป็มเชื้อเพลิงของท่านอายุสั้นกว่าที่ควรจะเป็นครับ ฉนั้นการแก้ไขปัญหาแบบป้องกันก็คือ ควรเติมน้ำมันไว้ประมาณ 1/3-1/2 ถังเสมอ เพื่อให้เพียงพอแก่การระบายควมร้อนของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงครับ</span>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE=".:: ป๋องแป๋ง ::., post: 656944, member: 30230"][COLOR="Yellow"]ถ้าช่างบอกว่าต่อผ่าน รีเลย์ ก็ แสดงว่าตัดล่ะครับ จิงมันมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ครับ ถ้าไม่ตัด ก็ควรเติมน้ำมันไว้ เยอะหน่อย ถ้าตัดผมว่าควรใช้สวิทย์ แบบเมนวลครับ เพราะ ถ้าตัดเลย เวลาเรียกน้ำมันหรือตอนแก้สหมด กว่าน้ำมันจะ มา เครื่องอาจมีอาการกะตุกรอบตกแล้ว ถ้าตัดแบบเมนวลผมว่าดีครับ เพราะ ถ้าในกรณี ท่อน้ำมันร่ำซึม เราสามารถ กดปิดระบบ น้ำมัน และ สตาร์ทแก้ส วิ่งได้อยู่แล้วไป ซ่อม ครับ แต่ถ้า ไม่ตัด แล้วท่อน้ำมันรั่ว ควรลากจูง ไม่ควรสตาร์ท เพราะอาจเกิดไฟไหม้ ได้ [/COLOR] [COLOR="Yellow"]ความเป็นจริงคืออะไร ชุดติดตั้งระบบแก๊สหัวฉีดทุกยี่ห้อป็นระบบอัตโนมัติ ได้รับการออกแบบมาให้สามารถเปลี่ยนการใช้งาน จากแก๊สเป็นน้ำมันได้อย่างทันทีทันใด เมื่อแก๊สหมด โดยไม่มีอาการสะดุด และในทำนองกลับกันก็สามารถสลับจากการใช้น้ำมันไปเป็น แก๊สได้เมื่อต้องการ โดยไม่สะดุด เช่นกัน ฉนั้นจึงมีความจำเป็นอยู่เองที่ระบบจะต้องมีเชื้อเพลิง อยู่พร้อมใช้งานตลอดเวลาครับ คือต้องมีเชื้อเพลิงอยู่เต็มในท่อร่วมเชื้อเพลิง ( Fuel rail ) ไม่ว่าจะเป็น ท่อร่วมน้ำมันเชื้อเพลิง ( Fuel common rail )และท่อร่วมแก๊ส ( Gas common rail หรือ บางยี่ห้อเรียกว่า Injector Rail) เพื่อให้ระบบมีความพร้อมที่จะเปลี่ยนสลับไปมาโดยไม่ต้องรอการเดินทางมาของเชื้อเพลิงนั้นๆหรือจะทำให้เกิดอาการสะดุด เนื่องจากขาดความต่อเนื่องของการจ่ายของระบบเชื้อเพลิง นั่นเอง มาดูหลักการทำงานของระบบน้ำมันซึ่งเป็นแบบนี้เกือบทุกยี่ห้อ ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงของระบบจะทำงานทันทีที่เราเปิดสวิทช์กุญแจและสตาร์ทเครื่องยนต์ป๊มน้ำมันเชื้อเพลิงจะทำงานตลอดเวลา และจะต้องมีน้ำมันเต็มรางอยู่เสมอเมื่อติดเครื่องยนต์ หรือเมื่อเครื่องยนต์ทำงาน และความพร้อมนี้ ต้องมีแรงดันประมาณ 40-50-60 psi แล้วแต่ชนิดของเครื่องยนต์ ซึ่งแรงดันตัวนี้ก็จะถูกควบคุมด้วย Pressure regulator หรือ Pressure sensor โดยรายงานผลไปที่ ECU ด้วย ซึ่งจะควบคุมการทำงานของปั๊มเชื้อเพลิงให้เหมาะสม โดยมีการควบคุมแรงดันส่วนเกิน ( เมื่อเกิดการถอนคันเร่ง เบรค ทันทีทันใด) หรือ ไม่เพียงพอหรือขาดไป ( เมื่อเกิดการกดคันเร่ง แซง ทันทีทันใด) ให้สม่ำเสมอตลอดเวลาเพื่อให้การทำงานของหัวฉีดมีความสมบูรณ์ที่สุด โดยอาจจะใช้ระบบไหลกลับ ( Return line ) หรือระบบควบคุมรอบการหมุนของปั๊มเชื้อเพลิง ( Returnless system) และไม่มีเหตุผลใดที่ในระบบจะมีแรงดันมากกว่าที่กำหนดไปได้ เพราะจะมีการควบคุมแรงดันให้คงที่ไม่มากหรือน้อยกว่าที่กำหนดอยู่แล้ว และระบบก็จะไม่เสียหายเพราะแรงดันมากเกินไป เพราะมันจะไม่มากกว่าที่ระบบกำหนดแน่นอนเพราะมีการ ควบคุมโดย Pressure Regulator และ ECU ครับ แล้วทำไมรถของผม ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงเสียหายหรือท่อน้ำมันแตก 1. พึ่งระลึกไว้เสมอว่า อะไหล่ทุกชิ้นมีอายุการใช้งาน ไม่มีอะไหล่ตัวไหนมีอายุไม่จำกัด ไม่ว่าจะเป็นตัวป็มเอง ท่อน้ำมันไป และกลับ เป็นต้น ฉนั้นผมยังเชื่อว่ามันเสื่อมสภาพตามอายุการใช้เป็นส่วนมากครับ แต่มันบังเอิญมาเสียหรือเสื่อมสภาพในช่วงที่ท่านติดตั้งระบบแก๊สเท่านั้นครับ การติดตั้งแก๊สก็เลยเป็นจำเลยคนที่หนึ่งเท่านั้นเองครับ 2. มีอีกสาเหตุที่พบบ่อยคือท่านที่ใช้แก๊ส จะเหลือน้ำมันติดก้นถังเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และนั้นจะเป็นสาเหตุให้ป็มของท่านได้รับการระบายความร้อนไม่เพียงพอ เนื่องจากป็มเชื้อเพลิงต้องการระบายความร้อนจากน้ำมันเชื้อเพลิงนั่นเอง หากมีระดับน้ำมันเชื้อเพลิงน้อยเกินไปก็จะทำให้ปั้มของท่านร้อนเร็วกว่าปกติและจะเป็นสาเหตุหลัก ที่ทำให้ป็มเชื้อเพลิงของท่านอายุสั้นกว่าที่ควรจะเป็นครับ ฉนั้นการแก้ไขปัญหาแบบป้องกันก็คือ ควรเติมน้ำมันไว้ประมาณ 1/3-1/2 ถังเสมอ เพื่อให้เพียงพอแก่การระบายควมร้อนของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงครับ[/COLOR][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
Civic ES Group
>
กระทู้พูดคุยเรื่อง NGV & LPG
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...