เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
NV Club
>
น้ำมันแพงเกี่ยวข้องกับค่าการกลั่นหรือไม่???
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="tae_nissannv, post: 675861, member: 67842"]น้ำมันแพงเป็นปัญหาที่สร้างความเดือดร้อนให้ผู้คนทั้งประเทศ เป็นต้นกำเนิดของปัญหาสารพัดทั้งเศรษฐกิจ,สังคมและการเมือง รวมถึงความสามารถทางการแข่งขันของไทยในตลาดโลก ล่าสุดกระทรวงพาณิชย์ได้ประกาศตัวเลขเงินเฟ้อของเดือน พ.ค.ที่ 7.6 % นับว่าสูงที่สุดในรอบ 10 ปีซึ่งเป็นผลมาจากราคาน้ำมันที่ขึ้นกันอย่างไม่หยุดหย่อน เงินเฟ้อขณะนี้จึงนับเป็นสัญญาณอันตรายที่สั่นคลอนเสถียรภาพของชาติโดยตรง</p><p> </p><p> ใครได้ใครเสียจากวิกฤติน้ำมันแพง??? จึงนับเป็นคำถามยอดฮิตในปัจจุบัน ที่บริษัทน้ำมันไทยๆมักตอบว่าเป็นผลของกลุ่มโอเปกที่ขึ้นราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก แต่ผู้ค้าน้ำมันไทยก็พยายามช่วยเหลือด้วยการลดค่าการตลาดของปั๊มค้าปลีกจนขาดทุนแล้ว แต่สิ่งที่หายไปจากคำชี้แจงนี้ก็คือกำไรในส่วนของการกลั่นที่ไม่เคยถูกเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมาว่ามีรายละเอียดอย่างไร โดยตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำไรของการกลั่นน้ำมันมี4 ส่วนด้วยกัน ดังนี้ คือ 1) ราคาน้ำมันดิบ 2) เทคโนโลยีของโรงกลั่น 3) ค่าเงินบาท และ 4) ค่าการกลั่น</p><p> </p><p> สำหรับราคาน้ำมันดิบนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าได้ไต่ราคาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมักเป็นเหตุผลเดียวที่ถูกบริษัทน้ำมันไทยนำมากล่าวอ้างได้อย่างสะดวกปากในการขึ้นราคา แต่ในความเป็นจริงยังมีรายละเอียดปลีกย่อยที่น่าสนใจ อันได้แก่ ชนิดของน้ำมันดิบซึ่งมีความแตกต่างกันของราคาอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ Light Sweet ที่มีราคาแพง และ Heavy Sour ที่มีราคาถูกกว่า โรงกลั่นไทยนำเข้าน้ำมันดิบประเภท Heavy Sour ซึ่งมาจากตะวันออกกลางถึงกว่า 75% ที่เหลือจึงเป็นน้ำมันดิบ Light Sweet เพียงเล็กน้อย นอกจากนี้ น้ำมันดิบที่เราใช้กันอยู่ยังมาจากสัมปทานราคาถูกบนแผ่นดินไทยอีก 21% ดังนั้น ต้นทุนน้ำมันดิบของธุรกิจพลังงานไทยจึงถูกกว่าหลายประเทศ นอกจากนี้โรงกลั่นในไทยเช่น ไทยออยล์ ยังมีเทคโนโลยีชั้นสูงสามารถกลั่นน้ำมันดิบคุณภาพต่ำที่มีราคาถูกให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีราคาสูงได้ตามความต้องการของตลาด</p><p> </p><p> ประเด็นต่อมาคือเรื่องของค่าเงินก็น่าสนใจไม่น้อย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาค่าเงินในหลายประเทศได้แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลล่าร์ซึ่งเป็นค่าเงินที่ใช้ในการซื้อขายน้ำมันดิบ สำหรับค่าเงินบาทก็แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องกว่า 28% มาตั้งแต่ปี 2544 ซึ่งน่าจะส่งผลในเชิงบวกต่อการนำเข้าน้ำมันดิบได้ถูกลง แต่ในทางปฏิบัติกลับมีผลต่อราคาในประเทศน้อยมาก ดังนั้นปัญหาน้ำมันแพงที่เกิดขึ้นกับคนไทยปัญหาหลักจึงน่าจะเกิดจากต้นทุนแฝงที่อยู่ในโครงสร้างธุรกิจน้ำมันไทยเอง โดยเฉพาะค่าการกลั่นที่มักถูกเปิดเผยอย่างครึ่งๆกลางๆ วันนี้เราคงจะต้องมาเจาะลึกถึงค่าการกลั่นว่าเกี่ยวข้องกับปัญหาน้ำมันแพงหรือไม่???</p><p> </p><p> ช่วงก่อนปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ ทำให้ต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากต่างประเทศโดยเฉพาะตลาดสิงคโปร์ซึ่งเป็นศูนย์กลางการซื้อขายน้ำมันในภมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงเป็นที่มาว่าทำไมผู้กำกับนโยบายพลังงานจึงให้อิงราคาน้ำมันสำเร็จรูปหน้าโรงกลั่นกับตลาดแห่งนี้ จึงเป็นการอิงกับต้นทุนการนำเข้าโดยตรงซึ่งฟังแล้วก็มีเหตุผลดี</p><p> </p><p> แต่สิ่งที่น่าสนใจก็คือในปัจจุบันประเทศไทยหมดความจำเป็นในการพึ่งพิงการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากตลาดสิงคโปร์แล้วเนื่องจากหลังปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นน้ำมันสูงขึ้นอยู่ในระดับล้นเกิน โดยไทยจะต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปมากว่า 11 ปีแล้ว แต่โรงกลั่นไทยก็ยังใช้ราคานำเข้าจากสิงคโปร์เป็นราคาอ้างอิงในการขายน้ำมันในประเทศมาโดยตลอด ทำให้ราคาหน้าโรงกลั่นนี้ปราศจากความเกี่ยวข้องกับต้นทุนที่แท้จริงของโรงกลั่น และที่สำคัญราคาส่งออกให้ต่างชาติก็ถูกกว่าราคาที่ขายให้คนไทยอยู่มากโข ซึ่งราคานำเข้าและส่งออกจะมีความแตกต่างกัน ดังนี้</p><p> </p><p> 1.กรณีนำเข้า ในอดีตที่ไทยนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากต่างประเทศ โดยต้นทุนการจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปจะคำนวณจากราคาน้ำมันสำเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปร์บวกกับค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งสิงคโปร์-กรุงเทพฯ อันได้แก่ ค่าขนส่ง ค่าประกันความเสียหาย ค่าปรับปรุงคุณภาพให้ตรงกับมาตรฐานของไทย และค่าโสหุ้ยอื่นๆ รวมแล้วจะตกอยู่ในราว 3-4 เหรียญต่อบาร์เรล ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะแตกต่างกันตามชนิดของน้ำมัน</p><p> </p><p> 2.กรณีส่งออก ตั้งแต่ปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นมากกว่าความต้องการใช้ในประเทศ ทำให้ต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปส่วนเกินไปขายยังต่างประเทศ โดยราคาขายจะคำนวณจากราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์หักด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆในการส่งออก ทั้งนี้เพื่อให้น้ำมันที่ขายเมื่อมีการขนส่งจริงจะมีราคารวมเท่ากับราคาที่ตลาดสิงคโปร์ ซึ่งเป็นราคาที่โรงกลั่นไทยสามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้</p><p> </p><p> ธุรกรรมทั้งสองจึงมีความแตกต่างกันที่การบวกเข้าหรือหักออกของค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งระหว่างประเทศ ดังนั้นสิ่งที่น่าสนใจก็คือปัจจุบันที่ประเทศไทยมีกำลังการกลั่นกว่าล้านบาร์เรลต่อวัน ในขณะที่ความต้องการใช้น้ำมันอยู่ที่ 700,000 บาร์เรลต่อวัน ทำให้ไทยต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปอย่างต่อเนื่อง ประเด็นสำคัญจึงอยู่ที่ว่าเมื่อไทยเป็นผู้ส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปแล้ว เรายังควรใช้ราคานำเข้าในการตั้งราคาขายหน้าโรงกลั่นต่อไปอีกหรือไม่???</p><p> </p><p> จากหนังสือชี้ชวนของโรงกลั่นที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยพบว่า โรงกลั่นจะกำหนดราคาขายน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศด้วยราคาเทียบเท่าราคานำเข้า(Import Parity)</p><p> </p><p> ราคาขายในประเทศ = ราคาสิงคโปร์ + ค่าใช้จ่ายในการนำเข้าน้ำมันจากสิงคโปร์(ที่ไม่เกิดขึ้นจริง)</p><p> และส่งออกด้วยด้วยราคาเทียบเท่าราคาส่งออก (Export Parity)</p><p> ราคาขายต่างประเทศ = ราคาสิงคโปร์ ค่าใช้จ่ายในการส่งออกน้ำมันไปสิงคโปร์</p><p><br /></p><p> </p><p><img src="http://pics.manager.co.th/Images/551000007202801.JPEG" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" /></p><p> </p><p> </p><p> จากตัวอย่างจะพบประเด็นที่สำคัญดังนี้</p><p> </p><p> 1.ราคาขายน้ำมันสำเร็จรปให้คนในประเทศหน้าโรงกลั่นไทยได้รวมเอาต้นทุนที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงคือค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งจากสิงคโปร์มาไทย(ค่าขนส่ง+ค่าประกันความเสียหาย+ค่าปรับปรุงคุณภาพน้ำมัน+ค่าโสหุ้ยอื่นๆ)เข้าไปด้วย ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจเลยหากเห็นโรงกลั่นเหล่านี้มีกำไรกันอ้วนท้วนกว่าโรงกลั่นในต่างประเทศ การกำหนดราคาน้ำมันที่ขายภายในประเทศตามราคา Import Parity นี้จึงเป็นประเด็นที่น่าคิดว่าเป็นสิ่งที่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือไม่ ยิ่งไปกว่านี้ การกำหนดราคาหน้าโรงกลั่นนี้ยังใช้กับน้ำมันดิบที่มาจากแหล่งในประเทศไทยเองอีกด้วย !!!</p><p> </p><p> 2.จำนวนเงินที่โรงกลั่นไทยได้รับจากคนไทยต่อ 1 ลิตรนั้นสูงกว่าที่โรงกลั่นไทยได้รับจากคนต่างชาติ ดังนั้นจึงเป็นแรงจูงใจให้โรงกลั่นต้องการขายน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศให้มากที่สุด ซึ่งก็น่าจะทำให้เกิดการแข่งขันของโรงกลั่นและทำให้ราคาขายในประเทศลดลงไปใกล้ราคาส่งออก Export Parity ได้ ซึ่งจะลดลงแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับระดับการแข่งขันของโรงกลั่นนั่นเอง แต่ปัจจุบันธุรกิจโรงกลั่นส่วนใหญ่ได้ตกอยู่ในมือผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่รายเดียว โดยมีอำนาจในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่เหนือกำลังการกลั่นกว่า 80% ของประเทศ มีผลให้กลไกตลาดของธุรกิจการกลั่นน้ำมันไทยกลายเป็นมายาคติภายใต้การควบคุมของบริษัทพลังงาน ผู้บริโภคจึงต้องจำยอมจ่ายค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงนี้อยู่ต่อไป (และคงเป็นเหตุผลว่าทำไมโรงกลั่นเหล่านี้จึงยอมลดค่าการกลั่นลงได้อย่างง่ายดายหลังจากมีแรงกดดันจากสังคม ผนวกกับการร้องขอของ รมต.พลังงาน)</p><p> </p><p> ประเด็นดังกล่าวคงเป็นเหตุผลเบื้องหลังว่าทำไมที่ผู้ค้าน้ำมันยักษ์ใหญ่ที่มีธุรกิจน้ำมันครบวงจร สามารถเล่นบทพ่อพระที่ยอมแบกภาระต้นทุนค่าการตลาดในธุรกิจปั๊มค้าปลีกที่ต่ำเตี้ยติดดินได้ โดยตุนกำไรไว้แล้วในค่าการกลั่นและปล่อยให้ปั๊มค้าปลีกที่ไม่มีโรงกลั่นหนุนหลังต้องถูกบีบค่าการตลาด ซ้ำยังต้องตกเป็นจำเลยของสังคม นับเป็นกลยุทธ์อันแหลมคมที่นอกจากจะได้หน้าแล้วยังเชือดส่วนแบ่งตลาดค้าปลีกน้ำมันของคู่แข่งได้แบบนิ่มๆอีกด้วย</p><p> --------------------------------------------------------------------------------------------------------</p><p>โดย ทิวากร ณ กรุงเทพฯ (Divakorn@hotmail.com) </p><p><a href="http://www.manager.co.th" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="http://www.manager.co.th" rel="nofollow">http://www.manager.co.th</a>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="tae_nissannv, post: 675861, member: 67842"]น้ำมันแพงเป็นปัญหาที่สร้างความเดือดร้อนให้ผู้คนทั้งประเทศ เป็นต้นกำเนิดของปัญหาสารพัดทั้งเศรษฐกิจ,สังคมและการเมือง รวมถึงความสามารถทางการแข่งขันของไทยในตลาดโลก ล่าสุดกระทรวงพาณิชย์ได้ประกาศตัวเลขเงินเฟ้อของเดือน พ.ค.ที่ 7.6 % นับว่าสูงที่สุดในรอบ 10 ปีซึ่งเป็นผลมาจากราคาน้ำมันที่ขึ้นกันอย่างไม่หยุดหย่อน เงินเฟ้อขณะนี้จึงนับเป็นสัญญาณอันตรายที่สั่นคลอนเสถียรภาพของชาติโดยตรง ใครได้ใครเสียจากวิกฤติน้ำมันแพง??? จึงนับเป็นคำถามยอดฮิตในปัจจุบัน ที่บริษัทน้ำมันไทยๆมักตอบว่าเป็นผลของกลุ่มโอเปกที่ขึ้นราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก แต่ผู้ค้าน้ำมันไทยก็พยายามช่วยเหลือด้วยการลดค่าการตลาดของปั๊มค้าปลีกจนขาดทุนแล้ว แต่สิ่งที่หายไปจากคำชี้แจงนี้ก็คือกำไรในส่วนของการกลั่นที่ไม่เคยถูกเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมาว่ามีรายละเอียดอย่างไร โดยตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำไรของการกลั่นน้ำมันมี4 ส่วนด้วยกัน ดังนี้ คือ 1) ราคาน้ำมันดิบ 2) เทคโนโลยีของโรงกลั่น 3) ค่าเงินบาท และ 4) ค่าการกลั่น สำหรับราคาน้ำมันดิบนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าได้ไต่ราคาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมักเป็นเหตุผลเดียวที่ถูกบริษัทน้ำมันไทยนำมากล่าวอ้างได้อย่างสะดวกปากในการขึ้นราคา แต่ในความเป็นจริงยังมีรายละเอียดปลีกย่อยที่น่าสนใจ อันได้แก่ ชนิดของน้ำมันดิบซึ่งมีความแตกต่างกันของราคาอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ Light Sweet ที่มีราคาแพง และ Heavy Sour ที่มีราคาถูกกว่า โรงกลั่นไทยนำเข้าน้ำมันดิบประเภท Heavy Sour ซึ่งมาจากตะวันออกกลางถึงกว่า 75% ที่เหลือจึงเป็นน้ำมันดิบ Light Sweet เพียงเล็กน้อย นอกจากนี้ น้ำมันดิบที่เราใช้กันอยู่ยังมาจากสัมปทานราคาถูกบนแผ่นดินไทยอีก 21% ดังนั้น ต้นทุนน้ำมันดิบของธุรกิจพลังงานไทยจึงถูกกว่าหลายประเทศ นอกจากนี้โรงกลั่นในไทยเช่น ไทยออยล์ ยังมีเทคโนโลยีชั้นสูงสามารถกลั่นน้ำมันดิบคุณภาพต่ำที่มีราคาถูกให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีราคาสูงได้ตามความต้องการของตลาด ประเด็นต่อมาคือเรื่องของค่าเงินก็น่าสนใจไม่น้อย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาค่าเงินในหลายประเทศได้แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลล่าร์ซึ่งเป็นค่าเงินที่ใช้ในการซื้อขายน้ำมันดิบ สำหรับค่าเงินบาทก็แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องกว่า 28% มาตั้งแต่ปี 2544 ซึ่งน่าจะส่งผลในเชิงบวกต่อการนำเข้าน้ำมันดิบได้ถูกลง แต่ในทางปฏิบัติกลับมีผลต่อราคาในประเทศน้อยมาก ดังนั้นปัญหาน้ำมันแพงที่เกิดขึ้นกับคนไทยปัญหาหลักจึงน่าจะเกิดจากต้นทุนแฝงที่อยู่ในโครงสร้างธุรกิจน้ำมันไทยเอง โดยเฉพาะค่าการกลั่นที่มักถูกเปิดเผยอย่างครึ่งๆกลางๆ วันนี้เราคงจะต้องมาเจาะลึกถึงค่าการกลั่นว่าเกี่ยวข้องกับปัญหาน้ำมันแพงหรือไม่??? ช่วงก่อนปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ ทำให้ต้องนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากต่างประเทศโดยเฉพาะตลาดสิงคโปร์ซึ่งเป็นศูนย์กลางการซื้อขายน้ำมันในภมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงเป็นที่มาว่าทำไมผู้กำกับนโยบายพลังงานจึงให้อิงราคาน้ำมันสำเร็จรูปหน้าโรงกลั่นกับตลาดแห่งนี้ จึงเป็นการอิงกับต้นทุนการนำเข้าโดยตรงซึ่งฟังแล้วก็มีเหตุผลดี แต่สิ่งที่น่าสนใจก็คือในปัจจุบันประเทศไทยหมดความจำเป็นในการพึ่งพิงการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากตลาดสิงคโปร์แล้วเนื่องจากหลังปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นน้ำมันสูงขึ้นอยู่ในระดับล้นเกิน โดยไทยจะต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปมากว่า 11 ปีแล้ว แต่โรงกลั่นไทยก็ยังใช้ราคานำเข้าจากสิงคโปร์เป็นราคาอ้างอิงในการขายน้ำมันในประเทศมาโดยตลอด ทำให้ราคาหน้าโรงกลั่นนี้ปราศจากความเกี่ยวข้องกับต้นทุนที่แท้จริงของโรงกลั่น และที่สำคัญราคาส่งออกให้ต่างชาติก็ถูกกว่าราคาที่ขายให้คนไทยอยู่มากโข ซึ่งราคานำเข้าและส่งออกจะมีความแตกต่างกัน ดังนี้ 1.กรณีนำเข้า ในอดีตที่ไทยนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากต่างประเทศ โดยต้นทุนการจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปจะคำนวณจากราคาน้ำมันสำเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปร์บวกกับค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งสิงคโปร์-กรุงเทพฯ อันได้แก่ ค่าขนส่ง ค่าประกันความเสียหาย ค่าปรับปรุงคุณภาพให้ตรงกับมาตรฐานของไทย และค่าโสหุ้ยอื่นๆ รวมแล้วจะตกอยู่ในราว 3-4 เหรียญต่อบาร์เรล ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะแตกต่างกันตามชนิดของน้ำมัน 2.กรณีส่งออก ตั้งแต่ปี 2539 โรงกลั่นไทยมีกำลังการกลั่นมากกว่าความต้องการใช้ในประเทศ ทำให้ต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปส่วนเกินไปขายยังต่างประเทศ โดยราคาขายจะคำนวณจากราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์หักด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆในการส่งออก ทั้งนี้เพื่อให้น้ำมันที่ขายเมื่อมีการขนส่งจริงจะมีราคารวมเท่ากับราคาที่ตลาดสิงคโปร์ ซึ่งเป็นราคาที่โรงกลั่นไทยสามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้ ธุรกรรมทั้งสองจึงมีความแตกต่างกันที่การบวกเข้าหรือหักออกของค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งระหว่างประเทศ ดังนั้นสิ่งที่น่าสนใจก็คือปัจจุบันที่ประเทศไทยมีกำลังการกลั่นกว่าล้านบาร์เรลต่อวัน ในขณะที่ความต้องการใช้น้ำมันอยู่ที่ 700,000 บาร์เรลต่อวัน ทำให้ไทยต้องส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปอย่างต่อเนื่อง ประเด็นสำคัญจึงอยู่ที่ว่าเมื่อไทยเป็นผู้ส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปแล้ว เรายังควรใช้ราคานำเข้าในการตั้งราคาขายหน้าโรงกลั่นต่อไปอีกหรือไม่??? จากหนังสือชี้ชวนของโรงกลั่นที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยพบว่า โรงกลั่นจะกำหนดราคาขายน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศด้วยราคาเทียบเท่าราคานำเข้า(Import Parity) ราคาขายในประเทศ = ราคาสิงคโปร์ + ค่าใช้จ่ายในการนำเข้าน้ำมันจากสิงคโปร์(ที่ไม่เกิดขึ้นจริง) และส่งออกด้วยด้วยราคาเทียบเท่าราคาส่งออก (Export Parity) ราคาขายต่างประเทศ = ราคาสิงคโปร์ ค่าใช้จ่ายในการส่งออกน้ำมันไปสิงคโปร์ [IMG]http://pics.manager.co.th/Images/551000007202801.JPEG[/IMG] จากตัวอย่างจะพบประเด็นที่สำคัญดังนี้ 1.ราคาขายน้ำมันสำเร็จรปให้คนในประเทศหน้าโรงกลั่นไทยได้รวมเอาต้นทุนที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงคือค่าใช้จ่ายต่างๆในการดำเนินการขนส่งจากสิงคโปร์มาไทย(ค่าขนส่ง+ค่าประกันความเสียหาย+ค่าปรับปรุงคุณภาพน้ำมัน+ค่าโสหุ้ยอื่นๆ)เข้าไปด้วย ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจเลยหากเห็นโรงกลั่นเหล่านี้มีกำไรกันอ้วนท้วนกว่าโรงกลั่นในต่างประเทศ การกำหนดราคาน้ำมันที่ขายภายในประเทศตามราคา Import Parity นี้จึงเป็นประเด็นที่น่าคิดว่าเป็นสิ่งที่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือไม่ ยิ่งไปกว่านี้ การกำหนดราคาหน้าโรงกลั่นนี้ยังใช้กับน้ำมันดิบที่มาจากแหล่งในประเทศไทยเองอีกด้วย !!! 2.จำนวนเงินที่โรงกลั่นไทยได้รับจากคนไทยต่อ 1 ลิตรนั้นสูงกว่าที่โรงกลั่นไทยได้รับจากคนต่างชาติ ดังนั้นจึงเป็นแรงจูงใจให้โรงกลั่นต้องการขายน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศให้มากที่สุด ซึ่งก็น่าจะทำให้เกิดการแข่งขันของโรงกลั่นและทำให้ราคาขายในประเทศลดลงไปใกล้ราคาส่งออก Export Parity ได้ ซึ่งจะลดลงแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับระดับการแข่งขันของโรงกลั่นนั่นเอง แต่ปัจจุบันธุรกิจโรงกลั่นส่วนใหญ่ได้ตกอยู่ในมือผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่รายเดียว โดยมีอำนาจในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่เหนือกำลังการกลั่นกว่า 80% ของประเทศ มีผลให้กลไกตลาดของธุรกิจการกลั่นน้ำมันไทยกลายเป็นมายาคติภายใต้การควบคุมของบริษัทพลังงาน ผู้บริโภคจึงต้องจำยอมจ่ายค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงนี้อยู่ต่อไป (และคงเป็นเหตุผลว่าทำไมโรงกลั่นเหล่านี้จึงยอมลดค่าการกลั่นลงได้อย่างง่ายดายหลังจากมีแรงกดดันจากสังคม ผนวกกับการร้องขอของ รมต.พลังงาน) ประเด็นดังกล่าวคงเป็นเหตุผลเบื้องหลังว่าทำไมที่ผู้ค้าน้ำมันยักษ์ใหญ่ที่มีธุรกิจน้ำมันครบวงจร สามารถเล่นบทพ่อพระที่ยอมแบกภาระต้นทุนค่าการตลาดในธุรกิจปั๊มค้าปลีกที่ต่ำเตี้ยติดดินได้ โดยตุนกำไรไว้แล้วในค่าการกลั่นและปล่อยให้ปั๊มค้าปลีกที่ไม่มีโรงกลั่นหนุนหลังต้องถูกบีบค่าการตลาด ซ้ำยังต้องตกเป็นจำเลยของสังคม นับเป็นกลยุทธ์อันแหลมคมที่นอกจากจะได้หน้าแล้วยังเชือดส่วนแบ่งตลาดค้าปลีกน้ำมันของคู่แข่งได้แบบนิ่มๆอีกด้วย -------------------------------------------------------------------------------------------------------- โดย ทิวากร ณ กรุงเทพฯ (Divakorn@hotmail.com) [url]http://www.manager.co.th[/url][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
NV Club
>
น้ำมันแพงเกี่ยวข้องกับค่าการกลั่นหรือไม่???
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...