เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Motorsport Forum
>
Formula 1
>
ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับรถ Formula 1
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="TUMKUNG_naraka, post: 769469, member: 31393"]<font size="4"><b>ความรู้เกี่ยวกับการแข่งขันเอฟวัน (Understanding the sport)</b></font></p><p><br /></p><p>หลายคนได้เปรียบเทียบรถแข่งเอฟวันว่ามีความคล้ายคลึงกับเครื่องบินขับไล่ในหลายๆด้าน ซึ่งหลักอากาศพลศาสตร์ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทีมแข่งแต่ละทีม</p><p><br /></p><p>ในการนี้ทีมแข่งทุกทีมต้องลงทุนเป็นเม็ดเงินมหาศาลไปในการค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพของรถตลอดเวลา</p><p><br /></p><p>สำหรับทีมออกแบบนั้น ทีมวิศวกรจะคำนึงปัจจัย 2 ปัจจัยในการออกแบบนั่นก็คือ ทำยังไงให้รถวิ่งได้เร็วขึ้นอีก ส่วนอีกประการก็คือ สร้างค่าดาวน์ฟอร์ซให้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม (ค่าดาวน์ฟอร์ซเยอะ จะช่วยกดหน้ารถขณะที่วิ่ง ทำให้เข้าโค้งได้ง่าย และ นุ่มนวลมากขึ้น) </p><p><br /></p><p>มีหลายทีมแข่งในยุคนี้ ที่หันกลับไปหาปีกติดรถที่เป็นรูปแบบที่ใช้กันในยุคปลายทศวรรษที่ 60 ปีก หรือ แพนหางที่อยู่รถแข่งเอฟวัน จะทำหน้าที่เหมือนกับปีก หรือ แพนหางของเครื่องบิน ต่างกันตรงที่เครื่องบินใช้ปีกในการพยุงตัวมันขึ้นสู่ท้องฟ้า ขณะที่รถแข่งเอฟวันใช้มันในการช่วยเพิ่มดาวน์ฟอร์ซแก่ตัวรถ โดยในปัจจุบันรถแข่งเอฟวันมีค่าดาวน์ฟอร์ซประมาณ 3.5 g (ประมาณ 3.5 เท่าของน้ำหนักตัวมันเอง)</p><p><br /></p><p>เคยมีการทดลองให้รถแข่งเอฟวันใช้ความเร็วเต็มที่โดยไม่ได้ใส่ปีกเข้ากับตัวรถ ปรากฏว่ารถไม่สามารถที่จะวิ่งได้เหมือนปกติ </p><p><br /></p><p>ตั้งแต่ปี 1970 เป็นต้นมา ด้วยการเปลี่ยนแปลงทั้งกฏ และ กติกา ตลอดจนการพัฒนาชิ้นส่วนเช่นขนาดของปีก หรือ ตำแหน่งที่ติดตั้งปีก ทำให้ลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับรถแข่งเอฟวันไปได้มากเลยทีเดียว</p><p><br /></p><p>ในการแข่งขันแต่ละสนาม ทีมออกแบบก็จะต้องคิดค้น และ ปรับเปลี่ยนตัวรถให้เข้ากับสนามนั้นๆ อย่างเช่นในการแข่งขันที่ โมนาโก หรือ โมนาโก กรังด์ปรีซ์ ซึ่งมีทางตรงไม่มาก และ มีโค้งเป็นจำนวนมาก ดังนั้นปีกของรถจึงมี 2 ชั้นขึ้นไป (ในปี 2004 เพิ่งจะมีการแก้กฏให้ใช้ได้ไม่เกิน 2 ชั้น) แต่ขณะที่สนามซึ่งมีทางตรงยาวๆอย่าง มอนซ่า ในอิตาลี รถของทุกทีมจะพยายามใช้ปีกแบบชั้นเดียว หรือ ลดให้มีชั้นน้อยที่สุด เพื่อต้องการทำความเร็วสูงสุดบนทางตรง และ ลดแรงเฉื่อยให้มากที่สุดนั่นเอง</p><p><br /></p><p>ไม่นานมานี้ ทีมแข่งหลายๆทีม เริ่มจะเลียนแบบ เฟอร์รารี่ ในเรื่องการออกแบบบริเวณท้ายของตัวรถให้แคบ และ ต่ำที่สุดที่จะเป็นได้ เพราะมันสามารถลดแรงเฉื่อยได้มหาศาล </p><p><br /></p><p>เบรก (Brakes)</p><p><br /></p><p>แม้จะได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในเรื่องของเทคโนโลยี แต่กติกาของรถแข่งเอฟวัน กลับไม่อนุญาตให้ติดตั้งระบบเบรกแบบกันเบรกล็อก หรือ ABS ได้ โดยเพิ่งจะมีการแบนไม่ใช้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้เอง</p><p><br /></p><p>แม้ไม่ใช่ ABS ทว่ารถแข่งเอฟวัน ก็ใช้เทคโนโลยีในอุปกรณ์อื่นๆมาชดเชย โดยในการทดลองอันหนึ่งมีการนำรถเอฟวันที่วิ่งด้วยความเร็วกว่า 160 กิโลเมตร/ชั่วโมง ใช้ความเร็ว และ หยุดในทันที ปรากฏว่าสามารถที่จะหยุดรถนี้ได้แบบสนิทในระยะทางที่สั้นกว่ารถนั่งโดยสารทั่วๆไป ที่ทำความเร็วที่ระดับ 100 กิโลเมตร/ชั่วโมง เสียอีก</p><p><br /></p><p>ความปลอดภัยของห้องโดยสารนักแข่ง (Cockpit/safety)</p><p><br /></p><p>ความปลอดภัยของห้องโดยสารนักแข่ง ถือเป็นหัวใจของรถแข่งเอฟวันยุคปัจจุบันอย่างแท้จริง เราจะเห็นได้ว่าแม้จะประสบอุบัติเหตุหนักๆ แต่นักแข่งยุคนี้มักจะไม่เป็นอะไรมากนัก ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ FIA </p><p><br /></p><p>รถแข่งเอฟวัน ก็ไม่ต่างจากรถบ้านทั่วๆไป ที่จะต้องมีการทดสอบการชนเพื่อให้แน่ใจถึงความปลอดภัย ก่อนที่รถจะนำไปใช้แข่ง ซึ่งในการทดสอบนั้นจะใช้ความเร็วเหมือนในสนามแข่งจริงเลย เพื่อจะดูความสามารถของรถว่าสามารถรับแรงกระแทกที่เกิดขึ้นได้มากน้อยแค่ไหน </p><p><br /></p><p>โค้ง หรือ มุม (Cornering)</p><p><br /></p><p>โค้ง หรือ มุม ถือเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่ง และ สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยสำหรับการแข่งรถ การแข่งเอฟวันก็เช่นเดียวกัน การขับเคี่ยวกันบนทางตรงดูเหมือนจะเป็นการตัดสินกันที่รถคันใดมีพลังเครื่องยนต์ที่มหาศาล หรือ มีระบบเบรกที่เหนียวหนึบกว่ากัน แต่เมื่อเข้าโค้ง ทักษะ และ ฝีมือในการบังคับรถของนักแข่งจะดูเด่นชัดขึ้นทันที ผลแพ้ชนะของการแข่งขันบางครั้งอาจจะตัดสินกันที่โค้งเลยด้วยซ้ำ</p><p><br /></p><p>อาการของรถที่เรียกว่า โอเวอร์สเตียร์ (oversteer) หรือ อันเดอร์สเตียร์ (understeer) คืออาการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ขณะที่รถเข้าโค้ง จำง่ายๆก็คือ โอเวอร์สเตียร์ คือ อาการที่ด้านท้ายของรถเกิดการปัด และ พยายามจะแซงขึ้นหน้า ขณะที่ด้านหน้ารถกำลังเข้าโค้งอยู่ ส่วน อันเดอร์สเตียร์ ก็คือ การที่รถเข้าโค้งผ่านไปได้โดยที่รถเหมือนจะหนีจากศูนย์กลางออกไป </p><p><br /></p><p>อาการอันเดอร์สเตียร์ ดูจะไม่ใช่เรื่องใหญ่นัก เพราะเมื่อรถลดระดับความเร็วลงจากเดิม อาการที่ว่านี้ก็จะหายไป หรือ ไม่ปรากฏ และรถในปัจจุบันนี้ก็สามารถกำหนดได้ว่าจะให้ค่าของการอันเดอร์สเตียร์อยู่ที่ลิมิตเท่าไหร่ ขณะที่ โอเวอร์สเตียร์ ดูจะควบคุมได้ยากกว่า อันเดอร์สเตียร์</p><p><br /></p><p>อย่างไรก็ดีหากเป็นนักแข่งที่มีความชำนาญมากๆ นักแข่งเหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์จากการ โอเวอร์สเตียร์ ได้เช่นกัน เมื่อสามารถจะทำความเร็วก่อนเข้าโค้งได้เพิ่มขึ้น </p><p><br /></p><p>ปกติแล้วสเต็ปขณะที่รถแข่งเข้าโค้งนั้นแบ่งออกเป็น 3 ช่วงด้วยกันประกอบด้วย turn-in, apex และ exit[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="TUMKUNG_naraka, post: 769469, member: 31393"][SIZE="4"][B]ความรู้เกี่ยวกับการแข่งขันเอฟวัน (Understanding the sport)[/B][/SIZE] หลายคนได้เปรียบเทียบรถแข่งเอฟวันว่ามีความคล้ายคลึงกับเครื่องบินขับไล่ในหลายๆด้าน ซึ่งหลักอากาศพลศาสตร์ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทีมแข่งแต่ละทีม ในการนี้ทีมแข่งทุกทีมต้องลงทุนเป็นเม็ดเงินมหาศาลไปในการค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพของรถตลอดเวลา สำหรับทีมออกแบบนั้น ทีมวิศวกรจะคำนึงปัจจัย 2 ปัจจัยในการออกแบบนั่นก็คือ ทำยังไงให้รถวิ่งได้เร็วขึ้นอีก ส่วนอีกประการก็คือ สร้างค่าดาวน์ฟอร์ซให้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม (ค่าดาวน์ฟอร์ซเยอะ จะช่วยกดหน้ารถขณะที่วิ่ง ทำให้เข้าโค้งได้ง่าย และ นุ่มนวลมากขึ้น) มีหลายทีมแข่งในยุคนี้ ที่หันกลับไปหาปีกติดรถที่เป็นรูปแบบที่ใช้กันในยุคปลายทศวรรษที่ 60 ปีก หรือ แพนหางที่อยู่รถแข่งเอฟวัน จะทำหน้าที่เหมือนกับปีก หรือ แพนหางของเครื่องบิน ต่างกันตรงที่เครื่องบินใช้ปีกในการพยุงตัวมันขึ้นสู่ท้องฟ้า ขณะที่รถแข่งเอฟวันใช้มันในการช่วยเพิ่มดาวน์ฟอร์ซแก่ตัวรถ โดยในปัจจุบันรถแข่งเอฟวันมีค่าดาวน์ฟอร์ซประมาณ 3.5 g (ประมาณ 3.5 เท่าของน้ำหนักตัวมันเอง) เคยมีการทดลองให้รถแข่งเอฟวันใช้ความเร็วเต็มที่โดยไม่ได้ใส่ปีกเข้ากับตัวรถ ปรากฏว่ารถไม่สามารถที่จะวิ่งได้เหมือนปกติ ตั้งแต่ปี 1970 เป็นต้นมา ด้วยการเปลี่ยนแปลงทั้งกฏ และ กติกา ตลอดจนการพัฒนาชิ้นส่วนเช่นขนาดของปีก หรือ ตำแหน่งที่ติดตั้งปีก ทำให้ลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับรถแข่งเอฟวันไปได้มากเลยทีเดียว ในการแข่งขันแต่ละสนาม ทีมออกแบบก็จะต้องคิดค้น และ ปรับเปลี่ยนตัวรถให้เข้ากับสนามนั้นๆ อย่างเช่นในการแข่งขันที่ โมนาโก หรือ โมนาโก กรังด์ปรีซ์ ซึ่งมีทางตรงไม่มาก และ มีโค้งเป็นจำนวนมาก ดังนั้นปีกของรถจึงมี 2 ชั้นขึ้นไป (ในปี 2004 เพิ่งจะมีการแก้กฏให้ใช้ได้ไม่เกิน 2 ชั้น) แต่ขณะที่สนามซึ่งมีทางตรงยาวๆอย่าง มอนซ่า ในอิตาลี รถของทุกทีมจะพยายามใช้ปีกแบบชั้นเดียว หรือ ลดให้มีชั้นน้อยที่สุด เพื่อต้องการทำความเร็วสูงสุดบนทางตรง และ ลดแรงเฉื่อยให้มากที่สุดนั่นเอง ไม่นานมานี้ ทีมแข่งหลายๆทีม เริ่มจะเลียนแบบ เฟอร์รารี่ ในเรื่องการออกแบบบริเวณท้ายของตัวรถให้แคบ และ ต่ำที่สุดที่จะเป็นได้ เพราะมันสามารถลดแรงเฉื่อยได้มหาศาล เบรก (Brakes) แม้จะได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในเรื่องของเทคโนโลยี แต่กติกาของรถแข่งเอฟวัน กลับไม่อนุญาตให้ติดตั้งระบบเบรกแบบกันเบรกล็อก หรือ ABS ได้ โดยเพิ่งจะมีการแบนไม่ใช้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้เอง แม้ไม่ใช่ ABS ทว่ารถแข่งเอฟวัน ก็ใช้เทคโนโลยีในอุปกรณ์อื่นๆมาชดเชย โดยในการทดลองอันหนึ่งมีการนำรถเอฟวันที่วิ่งด้วยความเร็วกว่า 160 กิโลเมตร/ชั่วโมง ใช้ความเร็ว และ หยุดในทันที ปรากฏว่าสามารถที่จะหยุดรถนี้ได้แบบสนิทในระยะทางที่สั้นกว่ารถนั่งโดยสารทั่วๆไป ที่ทำความเร็วที่ระดับ 100 กิโลเมตร/ชั่วโมง เสียอีก ความปลอดภัยของห้องโดยสารนักแข่ง (Cockpit/safety) ความปลอดภัยของห้องโดยสารนักแข่ง ถือเป็นหัวใจของรถแข่งเอฟวันยุคปัจจุบันอย่างแท้จริง เราจะเห็นได้ว่าแม้จะประสบอุบัติเหตุหนักๆ แต่นักแข่งยุคนี้มักจะไม่เป็นอะไรมากนัก ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ FIA รถแข่งเอฟวัน ก็ไม่ต่างจากรถบ้านทั่วๆไป ที่จะต้องมีการทดสอบการชนเพื่อให้แน่ใจถึงความปลอดภัย ก่อนที่รถจะนำไปใช้แข่ง ซึ่งในการทดสอบนั้นจะใช้ความเร็วเหมือนในสนามแข่งจริงเลย เพื่อจะดูความสามารถของรถว่าสามารถรับแรงกระแทกที่เกิดขึ้นได้มากน้อยแค่ไหน โค้ง หรือ มุม (Cornering) โค้ง หรือ มุม ถือเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่ง และ สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยสำหรับการแข่งรถ การแข่งเอฟวันก็เช่นเดียวกัน การขับเคี่ยวกันบนทางตรงดูเหมือนจะเป็นการตัดสินกันที่รถคันใดมีพลังเครื่องยนต์ที่มหาศาล หรือ มีระบบเบรกที่เหนียวหนึบกว่ากัน แต่เมื่อเข้าโค้ง ทักษะ และ ฝีมือในการบังคับรถของนักแข่งจะดูเด่นชัดขึ้นทันที ผลแพ้ชนะของการแข่งขันบางครั้งอาจจะตัดสินกันที่โค้งเลยด้วยซ้ำ อาการของรถที่เรียกว่า โอเวอร์สเตียร์ (oversteer) หรือ อันเดอร์สเตียร์ (understeer) คืออาการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ขณะที่รถเข้าโค้ง จำง่ายๆก็คือ โอเวอร์สเตียร์ คือ อาการที่ด้านท้ายของรถเกิดการปัด และ พยายามจะแซงขึ้นหน้า ขณะที่ด้านหน้ารถกำลังเข้าโค้งอยู่ ส่วน อันเดอร์สเตียร์ ก็คือ การที่รถเข้าโค้งผ่านไปได้โดยที่รถเหมือนจะหนีจากศูนย์กลางออกไป อาการอันเดอร์สเตียร์ ดูจะไม่ใช่เรื่องใหญ่นัก เพราะเมื่อรถลดระดับความเร็วลงจากเดิม อาการที่ว่านี้ก็จะหายไป หรือ ไม่ปรากฏ และรถในปัจจุบันนี้ก็สามารถกำหนดได้ว่าจะให้ค่าของการอันเดอร์สเตียร์อยู่ที่ลิมิตเท่าไหร่ ขณะที่ โอเวอร์สเตียร์ ดูจะควบคุมได้ยากกว่า อันเดอร์สเตียร์ อย่างไรก็ดีหากเป็นนักแข่งที่มีความชำนาญมากๆ นักแข่งเหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์จากการ โอเวอร์สเตียร์ ได้เช่นกัน เมื่อสามารถจะทำความเร็วก่อนเข้าโค้งได้เพิ่มขึ้น ปกติแล้วสเต็ปขณะที่รถแข่งเข้าโค้งนั้นแบ่งออกเป็น 3 ช่วงด้วยกันประกอบด้วย turn-in, apex และ exit[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Motorsport Forum
>
Formula 1
>
ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับรถ Formula 1
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...