เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Mitsubishi Car Clubs
>
Evolution Thailand
>
ขอถามขึ้นเขาเทอร์โบแบบ twinscroll
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="พัทยา@MRC#012, post: 773007, member: 9244"]การดูว่าสูบไหนมีจังหวะการทำงานอย่างไร ให้ดู จากการสั่งจุดระเบิดจาก คอยล์จุดระเบิด ซึ่งรับคำสั่งจาก ECUs ครับ</p><p>ซึ่งในเว๊ปของ World Tech อธิบายไว้ถูกต้องแล้ว ครับ</p><p>คือจังหวะการจุดระเบิดจะเรียง จาก สูบ 1-3-4-2 </p><p>ตาม Cycle การทำงานของเครื่องยนต์ 4 สูบแถวเรียง ดูด-อัด-ระเบิด-คาย</p><p><br /></p><p>ที่นี้จะดูดว่าสูบไหนคือสูบ 1 ให้ดูจาก คอยล์จุดระเบิดครับ</p><p>เครื่อง 63T - 93T เป็นคอยล์จุดระเบิดคู่ Coil 1 สั่งสูบ 1+4 / Coil 2 สั่งสูบ 2+3</p><p>เมื่อไล่ตามคอยล์จุดระเบิด จะพบว่าเครื่อง63T-93T เครื่องหันซ้าย สำหรับบอดี้ อีโว 1-3</p><p>จะเรียงลูกสูบ เมื่อเราหันหน้าเข้าหาเครื่องยนต์ จากขวาไปซ้าย คือ สูบ 4-3-2-1</p><p>สูบ1 จะติดสายพาน</p><p>เมื่อเราได้ตำแหน่งลูกสูบแล้ว</p><p><br /></p><p>การขึ้นเฮด ให้ใช้หลักการตามเว๊ปของ World Tech ที่อธิบายไว้ดีแล้วคือ 4+1 และ 3+2</p><p>เหตุผลเพราะจังหวะการเปิดของวาวล์ไอดี ไล่จังหวะกันมา</p><p>ไม่ทำให้ ไอเสีย ไหลออกไปชนกันนั้นเอง</p><p><br /></p><p>ผมขอก๊อปปี้จาก World Tech มาครับ ขี้เกียจพิมพ์</p><p>" ในกรณี เครื่องยนต์ 4 สูบ การจุดระเบิดจะไล่จาก สูบ 1-3-4-2 เมื่อเราตีเฮดเดอร์สูบ 1 มารวมกับสูบ 4 ท่านจะเห็นว่า หลังจาก วาล์ว ไอเสีย สูบ 1 เปิด เพื่อคลายไอเสียออกสูบ 3 จะทำงานต่อทันที เมื่อช่วงไอเสียจากสูบ 1 คลายหมด สูบ 4 ถึงเริ่มทำงานเช่นเดียวกับสูบ 3 และสูบ 2 ดังนั้นจะไม่มีโอกาสที่ไอเสียเกิดอาการชนกัน ในทางกลับกัน จะเกิดแรงส่งต่อเนื่อง ของแรงดันไอเสียในท่อไอเสีย โดยศัพท์อังกฤษ เรียกว่า Exhaust Pulse จะช่วยกันดันใบพัดไอเสีย การที่เราแบ่งท่อไอเสียออกเป็น 2 ช่อง ไอเสียจากสูบ 1 จะเริ่มด้นใบพัดไอเสียฝั่งหนึ่ง หลังจากนั้น ไอเสียจากสูบ 4 ก็จะช่วยซ้ำต่อจากสูบ 1 และไอเสียจากสูบ 2 ช่วยซ้ำต่อจากสูบ 3 เป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ในขณะที่การใช้ท่อไอเสียรวมช่องเดียว แรงดันไอเสียทั้ง 4 สูบจะเกิดปะทะกันก่อนเข้าเทอร์โบลดลงซึ่งเครื่องยนต์ 6 สูบก็มีลักษณะเดียวกัน จากการทดสอบของโรงงาน IHI พบว่าโข่งไอเสียแบบ ช่องเดียว ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น ท่านคงจะเห็นจุดเด่นและประโยชน์จากโข่งไอเสีย แบบ 2 ช่อง อย่างชัดเจน "</p><p><br /></p><p>ฉะนั้นสรุปคือ</p><p>ต้องขึ้นเฮดสำหรับทวินสกอร์ ตามรูปตัวอย่างที่ 1 ครับ</p><p>แต่ในรูปตัวอย่างช่างเขียนตำแหน่งลูกสูบไม่ตรงกับตำแหน่งเครื่องในอนุกรมของ มิตซู เท่านั้น</p><p>ส่วนเหตุผลที่จะเอาไปบอกช่าง ก็ตามข้างบนเลยครับ</p><p><br /></p><p>ส่วนรูปการทำงานของ Cycle การจุดระเบิด</p><p>ลองดูในของ RMUT ครับ อธิบายไว้ได้ดี ชัดเจนครับ</p><p>ลองศึกษาดูครับ </p><p><a href="http://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai4.htm" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="http://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai4.htm" rel="nofollow">http://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai4.htm</a>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="พัทยา@MRC#012, post: 773007, member: 9244"]การดูว่าสูบไหนมีจังหวะการทำงานอย่างไร ให้ดู จากการสั่งจุดระเบิดจาก คอยล์จุดระเบิด ซึ่งรับคำสั่งจาก ECUs ครับ ซึ่งในเว๊ปของ World Tech อธิบายไว้ถูกต้องแล้ว ครับ คือจังหวะการจุดระเบิดจะเรียง จาก สูบ 1-3-4-2 ตาม Cycle การทำงานของเครื่องยนต์ 4 สูบแถวเรียง ดูด-อัด-ระเบิด-คาย ที่นี้จะดูดว่าสูบไหนคือสูบ 1 ให้ดูจาก คอยล์จุดระเบิดครับ เครื่อง 63T - 93T เป็นคอยล์จุดระเบิดคู่ Coil 1 สั่งสูบ 1+4 / Coil 2 สั่งสูบ 2+3 เมื่อไล่ตามคอยล์จุดระเบิด จะพบว่าเครื่อง63T-93T เครื่องหันซ้าย สำหรับบอดี้ อีโว 1-3 จะเรียงลูกสูบ เมื่อเราหันหน้าเข้าหาเครื่องยนต์ จากขวาไปซ้าย คือ สูบ 4-3-2-1 สูบ1 จะติดสายพาน เมื่อเราได้ตำแหน่งลูกสูบแล้ว การขึ้นเฮด ให้ใช้หลักการตามเว๊ปของ World Tech ที่อธิบายไว้ดีแล้วคือ 4+1 และ 3+2 เหตุผลเพราะจังหวะการเปิดของวาวล์ไอดี ไล่จังหวะกันมา ไม่ทำให้ ไอเสีย ไหลออกไปชนกันนั้นเอง ผมขอก๊อปปี้จาก World Tech มาครับ ขี้เกียจพิมพ์ " ในกรณี เครื่องยนต์ 4 สูบ การจุดระเบิดจะไล่จาก สูบ 1-3-4-2 เมื่อเราตีเฮดเดอร์สูบ 1 มารวมกับสูบ 4 ท่านจะเห็นว่า หลังจาก วาล์ว ไอเสีย สูบ 1 เปิด เพื่อคลายไอเสียออกสูบ 3 จะทำงานต่อทันที เมื่อช่วงไอเสียจากสูบ 1 คลายหมด สูบ 4 ถึงเริ่มทำงานเช่นเดียวกับสูบ 3 และสูบ 2 ดังนั้นจะไม่มีโอกาสที่ไอเสียเกิดอาการชนกัน ในทางกลับกัน จะเกิดแรงส่งต่อเนื่อง ของแรงดันไอเสียในท่อไอเสีย โดยศัพท์อังกฤษ เรียกว่า Exhaust Pulse จะช่วยกันดันใบพัดไอเสีย การที่เราแบ่งท่อไอเสียออกเป็น 2 ช่อง ไอเสียจากสูบ 1 จะเริ่มด้นใบพัดไอเสียฝั่งหนึ่ง หลังจากนั้น ไอเสียจากสูบ 4 ก็จะช่วยซ้ำต่อจากสูบ 1 และไอเสียจากสูบ 2 ช่วยซ้ำต่อจากสูบ 3 เป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ในขณะที่การใช้ท่อไอเสียรวมช่องเดียว แรงดันไอเสียทั้ง 4 สูบจะเกิดปะทะกันก่อนเข้าเทอร์โบลดลงซึ่งเครื่องยนต์ 6 สูบก็มีลักษณะเดียวกัน จากการทดสอบของโรงงาน IHI พบว่าโข่งไอเสียแบบ ช่องเดียว ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น ท่านคงจะเห็นจุดเด่นและประโยชน์จากโข่งไอเสีย แบบ 2 ช่อง อย่างชัดเจน " ฉะนั้นสรุปคือ ต้องขึ้นเฮดสำหรับทวินสกอร์ ตามรูปตัวอย่างที่ 1 ครับ แต่ในรูปตัวอย่างช่างเขียนตำแหน่งลูกสูบไม่ตรงกับตำแหน่งเครื่องในอนุกรมของ มิตซู เท่านั้น ส่วนเหตุผลที่จะเอาไปบอกช่าง ก็ตามข้างบนเลยครับ ส่วนรูปการทำงานของ Cycle การจุดระเบิด ลองดูในของ RMUT ครับ อธิบายไว้ได้ดี ชัดเจนครับ ลองศึกษาดูครับ [url]http://www.rmutphysics.com/CHARUD/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai4.htm[/url][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Mitsubishi Car Clubs
>
Evolution Thailand
>
ขอถามขึ้นเขาเทอร์โบแบบ twinscroll
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...