เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
General Marketplace
>
สินค้าทั่วไป ไม่มีหมวดหมู่
>
ประกันสะสมทรัพย์ เครื่องมือที่ช่วยด้านการเงินรับวัยเกษียณ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="nemophilanie, post: 7147901, member: 131420"]<i>ใช้ชีวิตอยู่กับลูกหลาน</i></p><p><br /></p><p><i>ดำรงชีวิตเรียบง่ายที่บ้านเกิด</i></p><p><br /></p><p><i>ท่องเที่ยวตามความฝัน</i></p><p><br /></p><p>ไม่ว่าต้องการจะใช้ชีวิตบั้นปลายแบบไหนก็ตาม อย่าลืมว่าทุกอย่างต้องใช้เงินเป็นพื้นฐาน ในขณะที่ชีวิตหลังเกษียณนั้นตกอยู่ในภาวะที่เรียกว่า เงินหายรายได้หด ไม่มีรายรับที่เคยได้ แต่รายจ่ายยังคงมีทั้งค่าใช้จ่ายประจำวัน ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสุขภาพ และที่อยู่อาศัย รวมทั้งค่าใช้จ่ายเพื่อกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ การ วางแผนเกษียณ อย่างมีคุณภาพเพื่อรองรับชีวิตในบั้นปลายจึงเป็นสิ่งสำคัญ</p><p><br /></p><p> </p><p><br /></p><p>วางแผนเกษียณ อย่างไรให้ชีวิตอุ่นใจในบั้นปลาย</p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 1</u> เริ่มจากคำนวณอายุการทำงานที่เหลืออยู่ โดยกำหนดอายุที่ต้องการเกษียณแล้วหักลบกับอายุปัจจุบัน เช่น นาย A อายุ 35 ปี อยากเกษียณตอนอายุ 60 ปี แสดงว่ามีเวลาเหลือในการทำงานอีก 25 ปี</p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 2</u> คาดคะเนอายุขัยของตน โดยประเมินจากโรคประจำตัว สุขภาพร่างกาย และอายุขัยเฉลี่ยของคนในครอบครัว เพื่อคำนวณหาจำนวนปีที่คาดว่าจะมีชีวิตอยู่หลังเกษียณ เช่น นาย A คาดว่าจะมีชีวิตอยู่ถึง 80 ปี แสดงว่า นาย A จะต้องวางแผนเก็บเงินเพื่อใช้จ่ายหลังเกษียณ 20 ปี</p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 3</u> ประเมินค่าใช้จ่ายหลังเกษียณเป็นรายเดือน โดยคำนวณจากไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต และภาระหนี้สินที่เหลืออยู่ จากนั้นจึงคำนวณเป็นค่าใช้จ่ายต่อปีตามช่วงอายุหลังเกษียณพร้อมบวกภาวะเงินเฟ้อ </p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 4</u> เช็กเงินออมที่มีอยู่รวมทั้งผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งหมดที่คาดว่าจะได้รับหลังจากเกษียณ อาทิ กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ ประกันชีวิตแบบบำนาญ และการลงทุนอื่น ๆ</p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 5</u> เมื่อทราบจำนวนเงินที่ต้องใช้หลังเกษียณ (ขั้นตอนที่ 3) และทรัพย์สินที่มีอยู่ (ขั้นตอนที่ 4) จะทำให้เราทราบว่ายังขาดเงินอยู่อีกประมาณเท่าไหร่จึงจะครอบคลุมค่าใช้จ่ายหลังเกษียณจนถึงสิ้นอายุขัย </p><p><br /></p><p><u>ขั้นตอนที่ 6</u> วางแผนการเงินเพื่อให้มีเงินตามเป้าหมายไว้ใช้หลังเกษียณ เช่น ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เก็บเงินออมเพิ่มขึ้น หรือนำเงินไปลงทุนเพื่อให้เงินงอกเงยตามความเสี่ยงที่รับได้ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ กองทุนรวม หรือทำ ประกันสะสมทรัพย์ เป็นต้น</p><p><br /></p><p> </p><p><br /></p><p>ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ เครื่องมือการเงินรับวัยเกษียณ</p><p><br /></p><p>ประกันสะสมทรัพย์ เหมาะสำหรับคนที่อยากมีเงินเก็บเป็นเงินก้อนแต่ไม่พร้อมรับความเสี่ยงเนื่องจาก <a href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" rel="nofollow">ประกันเงินออม</a> ประเภทนี้มีการการันตีเงินคืนเมื่อครบกำหนดสัญญา ทั้งยังให้การคุ้มครองชีวิตตลอดระยะเวลากรมธรรม์และนำไปใช้ลดหย่อนภาษีได้ โดย ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ ช่วยให้เรา วางแผนเกษียณ ได้ง่ายขึ้นเพราะมีเป้าหมายเงินคืนและระยะเวลานำส่งที่ชัดเจน ให้การออมเงินเป็นระเบียบ ยกตัวอย่างเช่น <a href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" rel="nofollow">ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ ของ SCB Protect</a> ออนไลน์ Easy E-SAVE 10/5 จาก SCB PROTECT ซึ่งจ่ายเบี้ยฯ ระยะสั้นเพียงแค่ 5 ปี ให้ความคุ้มครองตลอดสัญญา 10 ปี ทั้งยังเลือกเบี้ยประกันต่อปีได้ตามใจตั้งแต่ 20,000 - 400,000 บาท เมื่อครบกำหนด (สิ้นปีที่ 10) จะได้รับเงินคืน 350% ของทุนประกัน ระหว่างทางยังการันตีเงินคืนทุกปีโดยจะได้รับเงินคืน 4% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย ตั้งแต่สิ้นปีกรมธรรม์ ปีที่ 1 - 5 และเพิ่มเป็น 5% ตั้งแต่สิ้นปี กรมธรรม์ ปีที่ 6 - 9 ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีสูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท</p><p><br /></p><p><br /></p><p>แม้ว่าการวางแผนเกษียณจะเป็นการเตรียมการเพื่ออนาคต แต่ถ้าเริ่มได้เร็วเท่าไหร่ก็ยิ่งดีเท่านั้นเพราะจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้เร็วยิ่งขึ้น ชมเพิ่มเติมที่ <a href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://online.scbprotect.co.th/life/saving" rel="nofollow">https://online.scbprotect.co.th/life/saving</a>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="nemophilanie, post: 7147901, member: 131420"][I]ใช้ชีวิตอยู่กับลูกหลาน[/I] [I]ดำรงชีวิตเรียบง่ายที่บ้านเกิด[/I] [I]ท่องเที่ยวตามความฝัน[/I] ไม่ว่าต้องการจะใช้ชีวิตบั้นปลายแบบไหนก็ตาม อย่าลืมว่าทุกอย่างต้องใช้เงินเป็นพื้นฐาน ในขณะที่ชีวิตหลังเกษียณนั้นตกอยู่ในภาวะที่เรียกว่า เงินหายรายได้หด ไม่มีรายรับที่เคยได้ แต่รายจ่ายยังคงมีทั้งค่าใช้จ่ายประจำวัน ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสุขภาพ และที่อยู่อาศัย รวมทั้งค่าใช้จ่ายเพื่อกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ การ วางแผนเกษียณ อย่างมีคุณภาพเพื่อรองรับชีวิตในบั้นปลายจึงเป็นสิ่งสำคัญ วางแผนเกษียณ อย่างไรให้ชีวิตอุ่นใจในบั้นปลาย [U]ขั้นตอนที่ 1[/U] เริ่มจากคำนวณอายุการทำงานที่เหลืออยู่ โดยกำหนดอายุที่ต้องการเกษียณแล้วหักลบกับอายุปัจจุบัน เช่น นาย A อายุ 35 ปี อยากเกษียณตอนอายุ 60 ปี แสดงว่ามีเวลาเหลือในการทำงานอีก 25 ปี [U]ขั้นตอนที่ 2[/U] คาดคะเนอายุขัยของตน โดยประเมินจากโรคประจำตัว สุขภาพร่างกาย และอายุขัยเฉลี่ยของคนในครอบครัว เพื่อคำนวณหาจำนวนปีที่คาดว่าจะมีชีวิตอยู่หลังเกษียณ เช่น นาย A คาดว่าจะมีชีวิตอยู่ถึง 80 ปี แสดงว่า นาย A จะต้องวางแผนเก็บเงินเพื่อใช้จ่ายหลังเกษียณ 20 ปี [U]ขั้นตอนที่ 3[/U] ประเมินค่าใช้จ่ายหลังเกษียณเป็นรายเดือน โดยคำนวณจากไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต และภาระหนี้สินที่เหลืออยู่ จากนั้นจึงคำนวณเป็นค่าใช้จ่ายต่อปีตามช่วงอายุหลังเกษียณพร้อมบวกภาวะเงินเฟ้อ [U]ขั้นตอนที่ 4[/U] เช็กเงินออมที่มีอยู่รวมทั้งผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งหมดที่คาดว่าจะได้รับหลังจากเกษียณ อาทิ กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ ประกันชีวิตแบบบำนาญ และการลงทุนอื่น ๆ [U]ขั้นตอนที่ 5[/U] เมื่อทราบจำนวนเงินที่ต้องใช้หลังเกษียณ (ขั้นตอนที่ 3) และทรัพย์สินที่มีอยู่ (ขั้นตอนที่ 4) จะทำให้เราทราบว่ายังขาดเงินอยู่อีกประมาณเท่าไหร่จึงจะครอบคลุมค่าใช้จ่ายหลังเกษียณจนถึงสิ้นอายุขัย [U]ขั้นตอนที่ 6[/U] วางแผนการเงินเพื่อให้มีเงินตามเป้าหมายไว้ใช้หลังเกษียณ เช่น ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เก็บเงินออมเพิ่มขึ้น หรือนำเงินไปลงทุนเพื่อให้เงินงอกเงยตามความเสี่ยงที่รับได้ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ กองทุนรวม หรือทำ ประกันสะสมทรัพย์ เป็นต้น ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ เครื่องมือการเงินรับวัยเกษียณ ประกันสะสมทรัพย์ เหมาะสำหรับคนที่อยากมีเงินเก็บเป็นเงินก้อนแต่ไม่พร้อมรับความเสี่ยงเนื่องจาก [URL='https://online.scbprotect.co.th/life/saving']ประกันเงินออม[/URL] ประเภทนี้มีการการันตีเงินคืนเมื่อครบกำหนดสัญญา ทั้งยังให้การคุ้มครองชีวิตตลอดระยะเวลากรมธรรม์และนำไปใช้ลดหย่อนภาษีได้ โดย ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ ช่วยให้เรา วางแผนเกษียณ ได้ง่ายขึ้นเพราะมีเป้าหมายเงินคืนและระยะเวลานำส่งที่ชัดเจน ให้การออมเงินเป็นระเบียบ ยกตัวอย่างเช่น [URL='https://online.scbprotect.co.th/life/saving']ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ ของ SCB Protect[/URL] ออนไลน์ Easy E-SAVE 10/5 จาก SCB PROTECT ซึ่งจ่ายเบี้ยฯ ระยะสั้นเพียงแค่ 5 ปี ให้ความคุ้มครองตลอดสัญญา 10 ปี ทั้งยังเลือกเบี้ยประกันต่อปีได้ตามใจตั้งแต่ 20,000 - 400,000 บาท เมื่อครบกำหนด (สิ้นปีที่ 10) จะได้รับเงินคืน 350% ของทุนประกัน ระหว่างทางยังการันตีเงินคืนทุกปีโดยจะได้รับเงินคืน 4% ของจำนวนเงินเอาประกันภัย ตั้งแต่สิ้นปีกรมธรรม์ ปีที่ 1 - 5 และเพิ่มเป็น 5% ตั้งแต่สิ้นปี กรมธรรม์ ปีที่ 6 - 9 ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีสูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท แม้ว่าการวางแผนเกษียณจะเป็นการเตรียมการเพื่ออนาคต แต่ถ้าเริ่มได้เร็วเท่าไหร่ก็ยิ่งดีเท่านั้นเพราะจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้เร็วยิ่งขึ้น ชมเพิ่มเติมที่ [URL]https://online.scbprotect.co.th/life/saving[/URL][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
General Marketplace
>
สินค้าทั่วไป ไม่มีหมวดหมู่
>
ประกันสะสมทรัพย์ เครื่องมือที่ช่วยด้านการเงินรับวัยเกษียณ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...