เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
ขอระบาย เรื่อง บุคคลที่เรียกแทนตัวเองว่า "ผู้รักษากฎหมาย"
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="pes, post: 1063129, member: 29418"]<b><span style="color: White">ช่วยๆกันพิมไปแย้งมันนะครับ อ้างถึงท่าน พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รองผกก.2 บก.จร.</span></b></p><p><b><span style="color: White">ไปเลยมันจะได้เถียงไม่ออก</span></b></p><p><b><span style="color: White">***ถาม-ตอบเรื่องกฎหมายกับรถยนต์</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">ทุกคำตอบได้มาจาก พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รองผกก.2 บก.จร. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บก.02 กองบัญชาการตำรวจนครบาล</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">**1. ท่อไอเสีย</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">รถยนตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดท่อไอเสีย หม้อพัก และปลายท่อด้านท้ายมีขนาดใหญ่กว่าปรกติ มีความผิดหรือไม่ครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White">คำตอบ</span></b></p><p><b><span style="color: White">ไม่ผิดครับ แต่สำคัญอย่าให้เสียงดังเกินกว่าที่กม.กำหนดไว้ สำหรับรถยนต์ ไม่เกิน 100 เดซิเบล รถจักรยานยนต์ไม่เกิน 95 เดซิเบล</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">**2. กระจกมองข้าง</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">กระจกมองข้างถ้าเราติดอันเล็กจะผิดกฎหมายมั๊ยครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White">คำตอบ</span></b></p><p><b><span style="color: White">การติดกระจกมองข้างอันเล็ก ไม่ผิดกม.ครับ สามารถติดได้ เหตุผลเพราะ</span></b></p><p><b><span style="color: White">พ.ร.บ.รถยนต์พ.ศ.2522 บัญญัติว่า รถยนต์ต้องมีและใช้เครื่องอุปกรณ์สำหรับรถดังต่อไปนี ้</span></b></p><p><b><span style="color: White">- เครื่องมองหลัง เป็นกระจกเงา ติดอยู่ในที่ที่ผู้ขับรถสามารถมองเห็นภาพการจราจรด้า นข้างและด้านหลังได้ทุกขณะอย่างชัดเจน</span></b></p><p><b><span style="color: White">เนื่องจากไม่ได้กำหนดจำนวนหรือขนาดของเครื่องมองหลัง ดังนั้นจึงสามารถติดเพิ่มจากเดิมได้โดยไม่ผิดกม.</span></b></p><p><b><span style="color: White">- กรณีเป็นรถจักรยานยนต์ กม.ก็บัญญัติไว้เช่นเดียวกันครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">**3. เรื่อง รถโหลด</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">รถ เก๋งโหลดเตี้ยผิดกฏหมายหรือเปล่าครับ หรือมีกฏหมายบังคับให้โหลดได้ไม่เกินเท่าไหร่ เพราะรถบางคันท้ายโด่งมา บางคนโหลดให้ดูพองาม ซึ่งผมโดนตำรวจจับข้อหาดัดแปลงสภาพรถ และรถผมก็เป็นรถมือสอง ซื้อมาใช้สภาพนี้ครับ (ก็ไม่เตี้ยมากครับน่าจะประมาณ 1 - 2 นิ้ว สามารถก้มไปดูใต้ท้องรถได้)</span></b></p><p><b><span style="color: White">อยากรู้ว่า</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">1. ถ้าผิดกฏหมาย ทำไมถึงปล่อยให้เต๊นท์รถขายรถทำมาหรือดัดแปลงรถได้คร ับ และทำไมเวลาตรวจสภาพรถก่อนต่อทะเบียนถึงผ่านละครับ ( แต่เวลาขับถูกจับ) และหนังสือลงโฆษณาขายโช้คโหลดอย่างนู้นอย่างงี้ ปล่อยให้เค้าขายได้อย่างไร(เท่ากับขายของที่ทำให้ผิด กฏหมายนะ)</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">2. ถ้ารถที่ดัดแปลงสภาพรถผิดกฏหมาย รถที่ใส่ไฮโดรลิค ยืดขึ้นยืดลง ใส่เครื่องเสียงดังๆรบกวนชาวบ้าน (เลียนแบบมอเตอร์โชว์) รถเก๋งเล็กที่ใส่เครื่อง J เทอร์โบ (แรงเกินขนาดของรถ) รถที่ยกสูงถือว่าดัดแปลงสภาพรถหรือเปล่า</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">3.ตอนผมจอดติดไฟแดงตำรวจ มาขอดูใบขับขี่ พอผมยื่นให้ดู กับเดินกลับไปที่รถของเค้าเพื่อเขียนใบสั่ง ทิ้งให้ผมนั่งงงอยู่ในรถ โดยไม่แจงข้อหา ผมต้องขับออกไปแล้วจอดข้างทาง แล้วรีบเดินมาหาเค้าถามว่าเกิดอะไรขึ้นเค้าจึงบอกว่า ดัดแปลงสภาพรถ ผมบอกว่าผมซื้อมาสภาพนี้ หรือพูดอย่างไรก็ไม่สนเก็บใบขับขี่เข้ากระเป๋าแล้วให ้ไปเสียค่าปรับที่โรงพัก พอไปเสียค่าปรับ จะปรับตั้งพันหนึ่ง (มันความผิดผมเหรอ ผมซื้อมาสภาพนี้น่ะ) ผมว่าบางครั้งตำรวจทำเกินไปในบางครั้งไม่รับฟังเหตุผลบ้าง น่าจะชี้แจงให้เข้าใจว่ามันผิดอย่างนี้ๆนะ ไปแก้ไขซะ ถ้าเจออีกจับแน่นอนอะไรประมาณนี้</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">4. คุณว่าการมีส่วนในเรื่องของเงินค่าปรับมีส่วนเกี่ยวข ้องไหม มีคนบอกว่า(ซึ่งผมก็เห็นด้วย) พอมีเอี่ยวส่วนแบ่งในเงินค่าปรับทำให้บางคนไม่เคยโดน จับก็โดน(ผมใช้ขับรถมา 2 ปี ไม่เคยโดนจับไปทำธุระหลายจังหวัดเพิ่งมาโดน) บางครั้งผมเห็นว่ามันเอื้อการนำมาใช้หาผลประโยชน์กับ คนที่ไม่ค่อยรู้เรื่องกฏหมายมากเกินไป เหมือนดาบมีสองคมใช้ในทางที่ดีก็ดีไป เท่าที่ผมอยากรู้ก็มีเท่านี้ละครับ ซึ่งผมคิดว่าประชาชนทั้งหลายที่ใช้รถ ก็คงอยากจะทราบเหมือนกับผม</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">***คำตอบ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">ขออนุญาตแยกตอบเป็นหัวข้อหลักๆ อาจจะข้ามหรือกระโดดไปบ้าง ดังนี้</span></b></p><p><b><span style="color: White">-- การใช้รถนั้น หากเป็นรถที่ซื้อต่อจากผู้อื่น (รถมือสอง) ผู้ที่ซื้อรถคันดังกล่าวมาหรือผู้ขับขี่รถ (จะเป็นเจ้าของรถหรือไม่ก็ตาม) จะต้องรับผิดชอบทั้งในเรื่องของการขับขี่รถและของตัว รถที่ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรตรวจพบว่าผิดกม.</span></b></p><p><b><span style="color: White">สรุปว่า การใช้รถมือสองหรือการยืมรถคนอื่นมาขับ หรือการเป็นลูกจ้างแล้วนายจ้างสั่งให้มาขับรถ เช่นไปส่งของหรือเป็นคนขับรถ หาสกพบว่ามีสิ่งใดสิ่งหนึ่งผิดกม. จะอ้างว่าไม่ใช้เจ้าของรถหรือเป็นรถซื้อต่อมา ย่อมไม่ได้ ยกเว้นจะมีกม.กำหนดไว้เป็นความผิดเฉพาะตัวเจ้าของ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">-- รถโหลดเตี้ยหรือรถยกสูงไม่ผิดกม. เว้นแต่ 2.1 รถโหลดเตี้ย หากโหลดแล้ว มีผลต่อเนื่องไปทำให้ส่วนอื่นของรถผิดกม.ก็จะมีความผิดไปด้วย ซึ่งเห็นได้ชัดที่สุดคือ การโหลดเตี้ยทำให้ระดับของไฟหน้ารถผิดไปจากที่กม.กำหนดไว้ ได้แก่ รถยนต์ : ไฟหน้ารถถูกกำหนดให้สูงจากพื้นทางราบถึงจุดศูนย์กลาง ดวงโคมไม่น้อยกว่า 0.60 ม. แต่ไม่เกิน 1.35 ม. หากนำรถไปโหลดเตี้ยแล้ว ลองเอาไม้บรรทัดวัดดูว่าน้อยกว่า 0.60 ม.หรือไม่ หากน้อยกว่าก็ผิดกม.ครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">1. รถอยู่ในเต๊นท์ยังไม่ผิดกม.ครับ จอดไว้ในเต๊นท์ยังไม่ผิดจะผิดเมื่อเอาออกไปใช้ขับขี่ ส่วนโชคอัพรถนั้นยิ่งไม่ผิดกม.ใหญ่ เว้นแต่จะผิดตามพ.ร.บ. ผลิตภัณท์มาตรฐานอุตสาหกรรม(มอก.) เกี่ยวคุณสมบัติของโชคอัพ ครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White">เท่าที่ทราบ การตรวจสภาพรถผ่านสถานที่ตรวจรถเอกชนไม่ได้ตรวจเรื่อ งความเตี้ยของรถครับ มีแต่ตรวจเรื่องอุปกรณ์อื่น</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">2. รถยกสูงหากไฟสูงเกิน 1.35 ม.ก็ผิดกม.เช่นเดียวกันครับ รถใส่เครื่องเทอร์โบ หรือเปลี่ยนเครื่องใหม่ ต้องให้นายทะเบียนกรมการขนส่งทางบกตรวจสภาพก่อน หากตรวจผ่านก็ไม่ผิดครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">3.ประเด็นว่าเป็นรถมือสองคงเข้าใจดีแล้ว นะครับว่า ใช้เป็นเหตุผลในการทำให้พ้นผิดไม่ได้ แต่ประเด็นกรณีที่ตำรวจไม่แจ้งข้อหาหรือความผิดให้ทร าบนั้น ไม่ถูกต้อง โดยหลักแล้วต้องแจ้งให้ทราบก่อนว่าผิดอะไร แล้วจึงออกใบสั่ง</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">4. เรื่องการที่เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้จับกุมได้รับเงินราง วัลจากค่าปรับจราจรนั้น เป็นเพราะมีกม.บัญญัติไว้ว่า เงินค่าปรับจราจรร้อยละห้าสิบให้แบ่งให้แก่กรุงเทพมห านคร และเป็นรายได้แผ่นดิน (กระทรวงการคลัง) ส่วนที่เหลือนั้นให้เป็นรางวัลให้กับเจ้าหน้าที่ตำรว จผู้จับกุม ซึ่งในส่วนของตำรวจจราจรก็มีการเปลี่ยนแปลงกันหลายคร ั้ง ซึ่งก็น่าจะเป็นเหตุจูงใจที่ทำให้มีการกวดขันจับกุมผ ู้ฝ่าฝืนกม.มากขึ้น แต่การกระทำความผิดใดๆก็ตาม หากไม่เคยถูกจับมาก่อน ก็ไม่ได้หมายความว่า จะเปลี่ยนสิ่งที่ผิดกม.เป็นสิ่งที่ถูกกม.ไปได้ ไม่ว่าจะไม่เคขถูกจับมา 2 หรือ 3 ปีหรือขับรถผ่านมากี่จังหวัดแล้วก็ตาม</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">***4. เรื่องไฟตัดหมอก</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">อยากทราบว่าการเปิดไฟตัดหมอกนั้นผิดกฎหมายไหมครับแล้ วถ้าผิดกฎหมายแล้วจะเสียค่าเปรียบเทียบปรับเท่าไหร่</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">**คำตอบ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">ขณะนี้กม.เปิดโอกาส ให้รถที่ต้องการติดไฟตัดหมอก</span></b></p><p><b><span style="color: White">1. สามารถติดได้ที่หน้ารถข้างละหนึ่งดวงอยู่ในระดับเด ียวกัน ใช้ไฟแสงขาวหรือแสงเหลือง มีกำลังไฟเท่ากันไม่เกินดวงละ 55 วัตต์ สูงจากพื้นทางราบไม่เกินกว่าระดับโคมไฟแสงพ่งไกล (ไฟสูง) และโคมไฟแสงพุ่งต่ำ (ไฟต่ำ) ศูนย์รวมแสงต้องอยู่ต่ำกว่าแนวขนานกับพื้นทางราบไม่น ้อยกว่า 2 องศา หรือ 0.20 เมตรในระยะ 7.50 เมตร และไม่เฉไปทางขวา</span></b></p><p><b><span style="color: White">2. ไฟตัดหมอกจะเปิดไฟหรือใช้แสงสว่างได้เฉพาะในทางที่จะ ขับรถผ่าน มีหมอก ควัน หรือฝุ่นละอองจนเป็นอุปสรรค อันอาจเกิดอันตรายในขณะขับรถ และเมื่อไม่มีรถอยู่ด้านหน้าหรือสวนมาในระยะของแสงไฟ ดังนั้น สรุปว่า</span></b></p><p><b><span style="color: White">1. การติดไฟตัดหมอก มีเงื่อนไขตาม ข้อ 1</span></b></p><p><b><span style="color: White">2. การใช้ไฟตัดหมอก ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขตาม ข้อ 2</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">5. เรื่องการใส่ part รอบคัน</span></b></p><p><b><span style="color: White">รถตู้ใส่กันชนรอบคันและมีเสาอากาศอยู่ด้านหลังจะผิดก ฏหมายหรือเปล่าครับ</span></b></p><p><b><span style="color: White">คำตอบ</span></b></p><p><b><span style="color: White">รถ ตู้หรือรถอื่นที่ติดกันชนรอบคัน หากพิจารณาจากการติดตั้งแล้ว ไม่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้ อื่น เช่นไม่ติดยื่นยาวจนเกินไป หรือไม่มีลักษณะเป็นของแหลมคม เมื่อมีคนเดินผ่านรถไปเฉี่ยวถูก ทำให้ได้รับบาดเจ็บ ก็ยังไม่เป็นความผิด การติดเสาอากาศก็เช่นเดียวกัน การติดกันชนรอบคัน แม้จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายกับตัวรถ แต่ก็เสียเงิน และทำให้น้ำหนักรถเพิ่มขึ้นโดยใช่เหตุ เปลืองน้ำมันรถเปล่าๆ กันชนเดิมก็มีอยู่แล้ว </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">-----------------------------------------------------------</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> มารยาทในการขับรถ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> การ ใช้ถนนร่วมกัน นอกจากกฎหมายราชการแล้ว ยังควรมีมารยาทและความเอื้ออาทรต่อกัน เพื่อให้มีทั้งความราบรื่นและความปลอดภัยในการเดินทา งผู้ขับรถยนต์ไทยกับมารยาทในการ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ใช้รถใช้ถนนร่วมกันยังมีไม่มากนัก หากไม่หันมาสนใจและรณรงค์ร่วมกัน การรักษามารยาท</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ก็คงจะถดถอยลงเรื่อยๆ มารยาทและวิธีปฏิบัติต่อไปนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่รวบรวมขึ้น ซึ่งอาจ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> มีอีกหลากหลายแนวทาง ถ้าเห็นว่าสมควรก็นำไปปฏิบัติได้</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> **1. ข้ า ม สี่ แ ย ก - ต ร ง ไ ป ไ ม่ ค ว ร เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> การ ข้ามสี่แยกแล้วต้องการตรงไป พร้อมกับเปิดไฟฉุกเฉินกะพริบสี่มุม เป็นวิธีที่ผิด ! อันตราย ! และแพร่หลายกันอยู่ไม่น้อยเหตุผลที่ไม่ควรเปิดไฟฉุกเ ฉินในกรณีนี้ เพราะผู้ขับรถยนต์ที่มา</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ด้านซ้าย-ขวา จะเห็นไฟกะพริบด้านหน้าเพียงมุมเดียว เสมือนเป็นการเปิดไฟเลี้ยว โดยไม่ทราบเลยว่าเป็นการเปิดไฟฉุกเฉินกะพริบพร้อมกัน สี่มุมซ้าย-ขวา ลองนึกภาพแล้ว</span></b></p><p><b><span style="color: White"> จะพบว่า ไฟเลี้ยวด้านหน้า แม้จะกะพริบพร้อมกันซ้าย-ขวา แต่ผู้ขับรถยนต์คันที่มาด้านข้าง</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ในแต่ละด้านจะเห็นไฟกะพริบเพียงมุมเดียว โดยเฉพาะผู้ที่มาจากด้านซ้าย จะไม่ชะลอ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ความเร็วลงหรือไม่ให้ทาง ด้วยคิดว่ารถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉินจะเลี้ยวซ้าย เพราะไม่เกี่ยว</span></b></p><p><b><span style="color: White"> กับเขาเลยนอกจากนั้นในมุมอื่น หากมีรถยนต์บางคันบังรถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉิน ผู้ขับ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> รถยนต์คันอื่นๆ อาจเข้าใจผิดว่าคิดเป็นการเปิดไฟเลี้ยวเฉพาะมุมที่เข าเห็นในกฎหมาย</span></b></p><p><b><span style="color: White"> จราจรไม่มีการระบุไว้ว่า ต้องเปิดไฟฉุกเฉินเมื่อต้องการข้ามสี่แยกแล้วตรงไป วิธีปฏิบัติที่</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ถูกต้องและปลอดภัย คือ เบรกชะลอความเร็วลง มองซ้าย-ขวา เมื่อเส้นทางว่างพอ ก็ตรง</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ไปด้วยความเร็วที่เหมาะสม โดยไม่ต้องเปิดสัญญาณไฟใดๆ ใช้สมาธิและเวลามองรถยนต์</span></b></p><p><b><span style="color: White"> คันอื่น ปลอดภัยกว่าเสียสมาธิและเวลาเปิด-ปิดสวิตช์ไฟฉุกเฉิน</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> **2. ฝ น ต ก หนั ก ไ ม่ ค ว ร เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> นับเป็นความหวังดี แต่อาจให้ผลร้าย ที่เกรงว่าผู้ร่วมทางจะไม่สามารถมองเห็นรถยนต์</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ของ ตนเมื่อฝนตกหนักในความเป็นจริง ไม่ควรเปิดไฟฉุกเฉิน เพราะจะแยงสายตา และหากมีรถยนต์บางคันบังรถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉิน ผู้ขับรถยนต์คันอื่นๆ อาจเข้า</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ใจผิดว่าเป็นการเปิดไฟเลี้ยวเฉพาะมุมที่เขาเห็น รวมถึงการเปลี่ยนเลนโดยไม่ปิดไฟ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ฉุกเฉินก่อน เพราะจะไม่มีไฟเลี้ยวให้ใช้บอกเตือนตามปกติ เมื่อฝนตกหนัก วิธีปฏิบัต</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ิที่ถูกต้องและปลอดภัย คือ ชะลอความเร็วลง ชิดเลนซ้าย-กลาง และเปิดไฟหน้าแบบต่ำ</span></b></p><p><b><span style="color: White"> หรือถ้ามีไฟตัดหมอกหลังสีแดงเพิ่มอีก 2 ดวง ก็ควรเปิดด้วย แล้วขับด้วยความระมัด</span></b></p><p><b><span style="color: White"> ระวังไฟฉุกเฉินมีไว้ใช้เมื่อฉุกเฉินจริงๆ เช่น รถยนต์จอดเสีย เกิดอุบัติเหตุบนผิว</span></b></p><p><b><span style="color: White"> จราจร รถยนต์ถูกลาก (ถ้ามีโอกาส ทำป้ายหรือเขียนกระดาษแปะด้านท้ายว่า -</span></b></p><p><b><span style="color: White"> รถลาก- จะช่วยให้ปลอดภัยขึ้น) ในกรณีที่เปิดไฟฉุกเฉินในรถยนต์ถูกลาก ควรชิด</span></b></p><p><b><span style="color: White"> เลนซ้าย และถ้าต้องการเปลี่ยนเลน ควรปิดไฟฉุกเฉินแล้วเปิดไฟเลี้ยวล่วงหน้าพอสมควร</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> จากคุณ : บั้งไฟลาว - [ 25 มิ.ย. 50 02:31:22 ] </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> ความคิดเห็นที่ 42</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> ***3. ส ป อ ต ไ ล ต์ / ไ ฟ ตั ด ห ม อ ก เ ปิ ด เ มื่ อ จ ำ เ ป็ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> มี ทั้งติดตั้งเป็นอุปกรณ์มาตรฐานและติดตั้งเพิ่มเอง ตำแหน่งอยู่ตรงด้านล่างของกันชนหน้า 2 ดวง/1 คันรถยนต์บางรุ่นออกแบบให้ใช้เป็นไฟตัดหมอก ซึ่งก็ควรใช้เมื่อมีหมอกตามชื่อเรียกมีการใช้สปอตไลต ์/ไฟตัดหมอกที่ผิดมารยาท สร้างความรำคาญ และเริ่มแพร่หลายขึ้นเรื่อยๆ จนอาจลดความปลอดภัยแก่ผู้ร่วมทาง คือ เปิดใช้ในขณะที่เส้นทางไม่มืดมาก ซึ่งไม่จำเป็น แสงสว่างที่แรงนั้นแยงสายตาทั้งผู้ขับรถยนต์คันที่สว นมา และคันนำหน้า ในเส้นทางปกติไม่ควรเปิดใช ้งานเพราะสว่างอยู่คนเดียว แต่ทำให้คนอื่นตาพร่ามัว คล้ายหรือแย่กว่าการเปิดไฟสูงสาดไปทั่วนั่นเอง บางรายหนักข้อด้วยการเปิดเพียงไฟหรี่ แล้วเปิดสปอตไลต์เพิ่มความสว่าง นับเป็นการรบกวนสายตาของเพื่อนร่วมทางอย่างมาก ก็ไม่ทราบว่าทำเพื่ออะไร ! สาเหตุที่หลายคนเปิดสปอตไลต์หรือไฟตัดหมอกด้านหน้า โดยไม่เกรงใจผู้ขับรถยนต์คันนำ หรือคันที่สวนทางมา เพราะคิดไปเองแต่เพียงว่า ตำแหน่งของสปอตไลต์อยู่ต่ำ ไม่น่าแยงตาเหมือนการเปิดไฟสูง ในความเป็นจริง ไฟส่องสว่างที่ติดตั้งอยู่ต่ำก็อาจแยงตาได้ ถ้ามีแสงแรงและมีการกระจายแสงมากๆสปอตไลต์ส่วนใหญ่มี แสงแรง และมีการกระจายแสงมากจนแยงตาแบบประกายแฉก ถ้าอยากเปิดใช้จริงๆ ควรเปิดแล้วออกไปมองอย่างรอบคอบว่า จะแยงตาผู้อื่นหรือไม่ (ส่วนใหญ่-แยงตา) หากไม่แน่ใจ ก็ไม่ควรเอาเปรียบผู้ขับร่วมทางด้วยการเปิดสปอตไลต์โ ดยไม่จำเป็น ควรเปิดเมื่อมืดจริงๆ และแน่ใจว่าไม่รบกวนผู้อื่นสำหรับคำถามที่ว่า แล้วผู้ผลิตรถยนต์ติดตั้งสปอตไลต์มาเพื่ออะไร แล้วจะได้ใช้เมื่อไรเพราะกลัวไม่คุ้มค่า ผู้ผลิตรถยนต์หลายรายระบุในคู่มือประจำรถยนต์ว่า สปอตไลต์ควรเปิดเมื่อจำเป็นและไม่รบกวนคนอื่น หรือควรเปิดเมื่อหมอกลง และไม่ควรเปิดใช้ต่อเนื่องนานๆ เพราะจะร้อนเกินไปจนจานฉายเสื่อมได้ง่าย การเปิดสปอตไลต์ต่อเนื่องจนร้อน เมื่อต้องลุยน้ำกะทันหัน กระจกด้านหน้าของสปอตไลต์อาจแตกร้าวได้ การติดตั้งสปอตไลต์เพิ่มเติมเองผิดกฎหมาย ทั้งมีการเปิดใช้และไม่ได้เปิด จะไม่ผิดกฎหมายก็ต่อเมื่อมีฝาครอบปิด และไม่ได้เปิดใช้บนเส้นทางเรียบปกติ</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> 4. ถ้ า มี ไ ฟ ตั ด ห ม อ ก ห ลั ง ค ว ร เ ปิ ด เ มื่ อ ห ม อ ก ล ง ห รื อ ฝ น ต ก ห นั ก เ ท่ า นั้ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> รถ ยนต์บางรุ่นมีสวิตช์พิเศษสำหรับไฟตัดหมอกด้านหลัง คือ ไฟท้ายสีแดงเพิ่มขึ้นอีกข้างละดวง และมีความสว่างมากกว่า ไฟท้ายปกติมาก เพื่อใช้เตือนผู้ขับรถยนต์คันที่ตามมาเมื่อหมอกลง ฝนหรือหิมะตกหนัก หากเปิดใช้ไฟตัดหมอกหลังสีแดงแสนสว่างในยามทัศนวิสัย ปกติแบบในไทย แสงสว่างที่เพิ่มขึ้นมาจะแยงตาผู้ร่วมทางมาก จึงไม่ควรเปิดใช้ในการใช้รถใช้ถนนปกติ และไม่ควรหลงลืมเปิดโดยไม่จำเป็น</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> 5. ก ะ พ ริ บ ไ ฟ สู ง ข อ ท า ง ห รื อ เ ตื อ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> บ้าง เรียกศัพท์สแลงกันว่า ดิฟไฟสูง คนไทยมักใช้เพื่อเตือนไม่ให้รถยนต์ทางโทตัดเข้ามาหาท างเอกหรือทางตรงทั้งที่ในบางประเทศใช้การกะพริบไฟสูง เมื่อต้องการให้ทาง เพราะแสดงว่าเห็นแล้วและให้ทางไปได้ ในขณะที่คนไทยใช้เพื่อบอกว่า เห็นแล้วว่ากำลังจะตัดทางเข้ามา แต่ไม่ให้เข้ามา กรณีนี้กฏหมายไทยไม่มีกำหนดว่าให้ใช้การกะพริบไฟสูงเ พื่อจุดประสงค์ใด อาจเพราะไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นสากลได้ จึงยังคงใช้กันในสไตล์คนไทยได้ แต่ก็มีผู้ที่ใช้เพื่อต้องการให้ทาง ซึ่งน่าจะเหมาะสมกว่า เพราะต้องเห็นก่อนจึงจะสามารถกะพริบไฟบอกได้คงต้องปล ่อยวางและใช้กันไปตามกระแส</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> 6. จ อ ด ใ น พื้ น ที่ ห้ า ม จ อ ด แ ล้ ว เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น</span></b></p><p><b><span style="color: White"> นับ เป็นการเอาเปรียบสังคมอย่างหนึ่ง แม้จะเป็นการจอดชั่วคราวก็ตาม เพราะการเปิดไฟฉุกเฉิน แม้จะแสดงว่าจอด แต่ถ้าไม่ใช่เวลาและพื้นที่ซึ่งควรจอดก็ไม่ควรปฏิบัต ิ อีกทั้งยังผิดกฏจราจรอีกด้วย การเปิดไฟฉุกเฉินจอดในพื้นที่ห้ามจอด ไม่สามารถป้องกันการออกใบสั่งได้ </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">7. เ ป ลี่ ย น เ ล น - แ ซ ง - ขึ้ น ท า ง ต ร ง แ ล้ ว ค ว ร เ ร่ ง ค ว า ม เ ร็ ว เ พิ่ ม</span></b></p><p><b><span style="color: White">การ ขึ้นทางตรงจากซอยหรือทางโท รวมถึงการเปลี่ยนเลน ควรกระทำเมื่อเส้นทางว่างพอ เมื่อเข้าเลนที่ต้องการได้แล้ว บางคนไม่สนใจมารยาทต่อผู้ขับรถยนต์คันที่ตามมา เพราะคิดแต่เพียงว่า ถ้าถูกชนด้านท้ายแล้วจะไม่ผิด เนื่องจากเข้าสู่เส้นทางได้เต็มคันแล้วในทางมารยาท เมื่อเข้าสู่เส้นทางได้เต็มคันแล้ว ควรเร่งความเร็วเพิ่มไล่รถยนต์คันหน้าในระยะที่เหมาะ สมให้เร็วที่สุด โดยไม่ต้องสนใจว่ารถยนต์คันหลังห่างแค่ไหน เพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลังจะได้ไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง และไม่เสี่ยงต่อการเสียโฉมของบั้นท้ายรถยนต์ของตน</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">8. ก า ร เ บ ร ก ต้ อ ง ส น ใ จ ร ถ ย น ต์ ที่ ต า ม ม า ด้ ว ย</span></b></p><p><b><span style="color: White">ไม่ ใช่เฉพาะเป็นการรักษามารยาท แต่เป็นการเพิ่มความปลอดภัยของตนเองด้วยการเบรก ดูเหมือนผู้ขับส่วนใหญ่จะมองแต่เพียงเป็นการลดความเร ็วเมื่อมีสิ่งกีดขวางด้านหน้า โดยไม่ค่อยสนใจมารยาทและความปลอดภัยของผู้ขับรถยนต์ค ันที่ตามมาถ้ามีโอกาสและเวลาพอ ก่อนการเบรกควรเหลือบ มองกระจกมองหลัง เพื่อจะได้ตัดสินใจกดแป้นเบรกด้วยน้ำหนักและจังหวะที ่เหมาะสมเพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลัง ไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง และไม่เสี่ยงต่อการเสียโฉมของบั้นท้ายรถยนต์ของตน นอกจากนั้น การแตะเบรกโดยไม่จำเป็นก็ถือว่าเสียมารยาทบ้างเล็กน้ อย เพราะไฟเบรกจะสว่าง ทำให้ผู้ขับรถยนต์คันตามมาชะงัก แต่ก็อย่ากังวลมากจนแตะเบรกช้าเพราะอาจเป็นอันตราย การเบรกมิใช่ต้องสนใจแต่เพียงด้านหน้าเท่านั้น ด้านหลังก็ต้องสนใจทั้งความปลอดภัยและมารยาท</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">9. ก้ ม ศี ร ษ ะ ข อ บ คุ ณ ลื ม ไ ป แ ล้ ว ห รื อ ?</span></b></p><p><b><span style="color: White">ใน ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ผู้ขับมีการก้มหัวขอบคุณเมื่อได้รับการให้ทาง แต่ในระยะหลังมานี้เริ่มมีการหลงลืมไปบ้างโดยอาจเป็น เพราะการรักษาศักดิ์ศรีแบบแปลกๆ เช่น ผู้ขับรถยนต์หรูราคาแพง มักไม่ยอมขอบคุณผู้ขับรถยนต์ราคาถูกที่ให้ทาง หรือผู้ชายมักไม่ยอมขอบคุณผู้หญิง ฯลฯน่าชื่นชมมาก เมื่อมีผู้ขอบคุณ ให้เมื่อได้รับการให้ทาง หากกลัวจะเสียศักดิ์ศรีแบบแปลกๆ ไม่อยากก้มศีรษะให้ ก็สามารถใช้วิธียกแขน พร้อมแบฝ่ามือครบทั้ง 5 นิ้ว (เน้นครบ 5 นิ้ว เพื่อป้องกันการเข้าใจผิด) ซึ่งยังดีกว่าการเพิกเฉย การขอบคุณในสิ่งที่สมควร ไม่ใช่เรื่องเสียศักดิ์ศรีแต่อย่างใด</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">10. ไ ฟ เ ห ลื อ ง ค ว ร เ ร่ ง ห นี ห รื อ เ บ ร ก ?</span></b></p><p><b><span style="color: White">ตาม หลักการที่ถูกต้องอันเป็นสากล แต่ไม่ค่อยมีการปฏิบัติ คือ ต้องเบรกและจอดเมื่อเห็นไฟเหลืองก่อนไฟแดงผู้ขับรถยน ต์ไทยส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่เมื่อเห็นไฟเหลือง คือ ไฟเตือนให้เร่งหนีการติดไฟแดง ซึ่งไม่ถูกต้องนัก เพราะการที่ไฟเหลืองสว่างขึ้นก่อนจังหวะไฟแดง ตามหลักการจริงเป็นการเตือนเพื่อให้ผู้ขับชะลอความเร ็วและจอด ในเมื่อวิถีการขับรถยนต์ของคนไทยส่วนใหญ่ เมื่อเห็นไฟเหลือง คือ ไฟเตือนให้เร่งหนีการติดไฟแดง ก็คงหลีกหนีไม่พ้น และยากที่จะให้ชะลอความเร็วลงและเบรกเมื่อเห็นไฟเหลื องสว่างขึ้นก่อนจังหวะไฟแดง ถ้าอยากจอดเมื่อเห็นไฟเหลืองแล้วเบรกเพื่อจอด ก็นับเป็นเรื่องที่ดี แต่ต้องระวังเรื่องความปลอดภัยจากการถูกชนท้าย เพราะคนไทยส่วนใหญ่ เมื่อเห็นไฟเหลืองจะเข้าใจกันว่าเป็นการเตือนให้เร่ง หนีการติดไฟแดงหากต้องการฝืนสังคม (ทั้งที่ไม่ผิด) ควรเหลือบมองกระจกมองหลัง เพื่อจะได้ตัดสินใจกดแป้นเบรกด้วยน้ำหนักและจังหวะที ่เหมาะสม เพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลังไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White">11. ไ ฟ เ ลี้ ย ว ต้ อ ง เ ปิ ด - ปิ ด อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม</span></b></p><p><b><span style="color: White">นับ เป็นเรื่องพื้นฐานที่ถูกมองข้าม การเปิดไฟเลี้ยวเป็นเรื่องจำเป็น เพราะกฎหมายกำหนดให้มีการเตือนผู้ร่วมทางล่วงหน้าตาม ระยะที่เหมาะสมควรเปิดไฟเลี้ยวเมื่อเตรียมเปลี่ยนเลน หรือเลี้ยวล่วงหน้าพอสมควร และไม่ควรเปิดค้างลืมทิ้งไว้</span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White"><br /></span></b></p><p><b><span style="color: White"> </span></b></p><p><b><span style="color: White">12. ชิ ด ซ้ า ย เ ส ม อ</span></b></p><p><b><span style="color: White">บน ถนนหลายเลนมักมีการเตือนว่า -ขับช้า ชิดซ้าย- ซึ่งไม่ค่อยตรงกับหลักการขับปลอดภัยและมารยาทในการใช ้ถนนนักเพราะจะมีรถยนต์แล่นอยู่เลนขวาตลอด โดยคิดว่าความเร็วที่ใช้ในขณะนั้นถือว่าเร็วแล้ว ซึ่งอาจเป็นเพราะกฎหมายไทยกำหนดให้ใช้ความเร็วสูงสุด ไม่เกิน 80-90 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อใช้ความเร็วเกินขึ้นไปแล้ว ก็มักคิดไปเองว่าเร็วพออยู่แล้ว จึงสามารถแล่นชิดขวาได้ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง รักษามารยาท และปลอดภัยในการใช้เลนขวา คือ -แซงแล้วชิดซ้าย- ไม่ว่าจะใช้ความเร็วสูงเท่าไรก็ตาม เร็วแล้วแต่ยังมีเร็วกว่าได้ ถึงจะผิดกฎหมายในการใช้ความเร็วสูง ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ... มารยาทในการขับรถยนต์ เป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม ทั้งเพื่อตัวเองและผู้ร่วมทาง</span></b></p><p><br /></p><p>เครดิตจากเวปพันทิปครับ</p><p>ขอบคุณท่าน จขกท ด้วยที่นำคำตอบมาเผยแพร่[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="pes, post: 1063129, member: 29418"][B][COLOR="White"]ช่วยๆกันพิมไปแย้งมันนะครับ อ้างถึงท่าน พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รองผกก.2 บก.จร. ไปเลยมันจะได้เถียงไม่ออก ***ถาม-ตอบเรื่องกฎหมายกับรถยนต์ ทุกคำตอบได้มาจาก พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รองผกก.2 บก.จร. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บก.02 กองบัญชาการตำรวจนครบาล **1. ท่อไอเสีย รถยนตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดท่อไอเสีย หม้อพัก และปลายท่อด้านท้ายมีขนาดใหญ่กว่าปรกติ มีความผิดหรือไม่ครับ คำตอบ ไม่ผิดครับ แต่สำคัญอย่าให้เสียงดังเกินกว่าที่กม.กำหนดไว้ สำหรับรถยนต์ ไม่เกิน 100 เดซิเบล รถจักรยานยนต์ไม่เกิน 95 เดซิเบล **2. กระจกมองข้าง กระจกมองข้างถ้าเราติดอันเล็กจะผิดกฎหมายมั๊ยครับ คำตอบ การติดกระจกมองข้างอันเล็ก ไม่ผิดกม.ครับ สามารถติดได้ เหตุผลเพราะ พ.ร.บ.รถยนต์พ.ศ.2522 บัญญัติว่า รถยนต์ต้องมีและใช้เครื่องอุปกรณ์สำหรับรถดังต่อไปนี ้ - เครื่องมองหลัง เป็นกระจกเงา ติดอยู่ในที่ที่ผู้ขับรถสามารถมองเห็นภาพการจราจรด้า นข้างและด้านหลังได้ทุกขณะอย่างชัดเจน เนื่องจากไม่ได้กำหนดจำนวนหรือขนาดของเครื่องมองหลัง ดังนั้นจึงสามารถติดเพิ่มจากเดิมได้โดยไม่ผิดกม. - กรณีเป็นรถจักรยานยนต์ กม.ก็บัญญัติไว้เช่นเดียวกันครับ **3. เรื่อง รถโหลด รถ เก๋งโหลดเตี้ยผิดกฏหมายหรือเปล่าครับ หรือมีกฏหมายบังคับให้โหลดได้ไม่เกินเท่าไหร่ เพราะรถบางคันท้ายโด่งมา บางคนโหลดให้ดูพองาม ซึ่งผมโดนตำรวจจับข้อหาดัดแปลงสภาพรถ และรถผมก็เป็นรถมือสอง ซื้อมาใช้สภาพนี้ครับ (ก็ไม่เตี้ยมากครับน่าจะประมาณ 1 - 2 นิ้ว สามารถก้มไปดูใต้ท้องรถได้) อยากรู้ว่า 1. ถ้าผิดกฏหมาย ทำไมถึงปล่อยให้เต๊นท์รถขายรถทำมาหรือดัดแปลงรถได้คร ับ และทำไมเวลาตรวจสภาพรถก่อนต่อทะเบียนถึงผ่านละครับ ( แต่เวลาขับถูกจับ) และหนังสือลงโฆษณาขายโช้คโหลดอย่างนู้นอย่างงี้ ปล่อยให้เค้าขายได้อย่างไร(เท่ากับขายของที่ทำให้ผิด กฏหมายนะ) 2. ถ้ารถที่ดัดแปลงสภาพรถผิดกฏหมาย รถที่ใส่ไฮโดรลิค ยืดขึ้นยืดลง ใส่เครื่องเสียงดังๆรบกวนชาวบ้าน (เลียนแบบมอเตอร์โชว์) รถเก๋งเล็กที่ใส่เครื่อง J เทอร์โบ (แรงเกินขนาดของรถ) รถที่ยกสูงถือว่าดัดแปลงสภาพรถหรือเปล่า 3.ตอนผมจอดติดไฟแดงตำรวจ มาขอดูใบขับขี่ พอผมยื่นให้ดู กับเดินกลับไปที่รถของเค้าเพื่อเขียนใบสั่ง ทิ้งให้ผมนั่งงงอยู่ในรถ โดยไม่แจงข้อหา ผมต้องขับออกไปแล้วจอดข้างทาง แล้วรีบเดินมาหาเค้าถามว่าเกิดอะไรขึ้นเค้าจึงบอกว่า ดัดแปลงสภาพรถ ผมบอกว่าผมซื้อมาสภาพนี้ หรือพูดอย่างไรก็ไม่สนเก็บใบขับขี่เข้ากระเป๋าแล้วให ้ไปเสียค่าปรับที่โรงพัก พอไปเสียค่าปรับ จะปรับตั้งพันหนึ่ง (มันความผิดผมเหรอ ผมซื้อมาสภาพนี้น่ะ) ผมว่าบางครั้งตำรวจทำเกินไปในบางครั้งไม่รับฟังเหตุผลบ้าง น่าจะชี้แจงให้เข้าใจว่ามันผิดอย่างนี้ๆนะ ไปแก้ไขซะ ถ้าเจออีกจับแน่นอนอะไรประมาณนี้ 4. คุณว่าการมีส่วนในเรื่องของเงินค่าปรับมีส่วนเกี่ยวข ้องไหม มีคนบอกว่า(ซึ่งผมก็เห็นด้วย) พอมีเอี่ยวส่วนแบ่งในเงินค่าปรับทำให้บางคนไม่เคยโดน จับก็โดน(ผมใช้ขับรถมา 2 ปี ไม่เคยโดนจับไปทำธุระหลายจังหวัดเพิ่งมาโดน) บางครั้งผมเห็นว่ามันเอื้อการนำมาใช้หาผลประโยชน์กับ คนที่ไม่ค่อยรู้เรื่องกฏหมายมากเกินไป เหมือนดาบมีสองคมใช้ในทางที่ดีก็ดีไป เท่าที่ผมอยากรู้ก็มีเท่านี้ละครับ ซึ่งผมคิดว่าประชาชนทั้งหลายที่ใช้รถ ก็คงอยากจะทราบเหมือนกับผม ***คำตอบ ขออนุญาตแยกตอบเป็นหัวข้อหลักๆ อาจจะข้ามหรือกระโดดไปบ้าง ดังนี้ -- การใช้รถนั้น หากเป็นรถที่ซื้อต่อจากผู้อื่น (รถมือสอง) ผู้ที่ซื้อรถคันดังกล่าวมาหรือผู้ขับขี่รถ (จะเป็นเจ้าของรถหรือไม่ก็ตาม) จะต้องรับผิดชอบทั้งในเรื่องของการขับขี่รถและของตัว รถที่ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรตรวจพบว่าผิดกม. สรุปว่า การใช้รถมือสองหรือการยืมรถคนอื่นมาขับ หรือการเป็นลูกจ้างแล้วนายจ้างสั่งให้มาขับรถ เช่นไปส่งของหรือเป็นคนขับรถ หาสกพบว่ามีสิ่งใดสิ่งหนึ่งผิดกม. จะอ้างว่าไม่ใช้เจ้าของรถหรือเป็นรถซื้อต่อมา ย่อมไม่ได้ ยกเว้นจะมีกม.กำหนดไว้เป็นความผิดเฉพาะตัวเจ้าของ -- รถโหลดเตี้ยหรือรถยกสูงไม่ผิดกม. เว้นแต่ 2.1 รถโหลดเตี้ย หากโหลดแล้ว มีผลต่อเนื่องไปทำให้ส่วนอื่นของรถผิดกม.ก็จะมีความผิดไปด้วย ซึ่งเห็นได้ชัดที่สุดคือ การโหลดเตี้ยทำให้ระดับของไฟหน้ารถผิดไปจากที่กม.กำหนดไว้ ได้แก่ รถยนต์ : ไฟหน้ารถถูกกำหนดให้สูงจากพื้นทางราบถึงจุดศูนย์กลาง ดวงโคมไม่น้อยกว่า 0.60 ม. แต่ไม่เกิน 1.35 ม. หากนำรถไปโหลดเตี้ยแล้ว ลองเอาไม้บรรทัดวัดดูว่าน้อยกว่า 0.60 ม.หรือไม่ หากน้อยกว่าก็ผิดกม.ครับ 1. รถอยู่ในเต๊นท์ยังไม่ผิดกม.ครับ จอดไว้ในเต๊นท์ยังไม่ผิดจะผิดเมื่อเอาออกไปใช้ขับขี่ ส่วนโชคอัพรถนั้นยิ่งไม่ผิดกม.ใหญ่ เว้นแต่จะผิดตามพ.ร.บ. ผลิตภัณท์มาตรฐานอุตสาหกรรม(มอก.) เกี่ยวคุณสมบัติของโชคอัพ ครับ เท่าที่ทราบ การตรวจสภาพรถผ่านสถานที่ตรวจรถเอกชนไม่ได้ตรวจเรื่อ งความเตี้ยของรถครับ มีแต่ตรวจเรื่องอุปกรณ์อื่น 2. รถยกสูงหากไฟสูงเกิน 1.35 ม.ก็ผิดกม.เช่นเดียวกันครับ รถใส่เครื่องเทอร์โบ หรือเปลี่ยนเครื่องใหม่ ต้องให้นายทะเบียนกรมการขนส่งทางบกตรวจสภาพก่อน หากตรวจผ่านก็ไม่ผิดครับ 3.ประเด็นว่าเป็นรถมือสองคงเข้าใจดีแล้ว นะครับว่า ใช้เป็นเหตุผลในการทำให้พ้นผิดไม่ได้ แต่ประเด็นกรณีที่ตำรวจไม่แจ้งข้อหาหรือความผิดให้ทร าบนั้น ไม่ถูกต้อง โดยหลักแล้วต้องแจ้งให้ทราบก่อนว่าผิดอะไร แล้วจึงออกใบสั่ง 4. เรื่องการที่เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้จับกุมได้รับเงินราง วัลจากค่าปรับจราจรนั้น เป็นเพราะมีกม.บัญญัติไว้ว่า เงินค่าปรับจราจรร้อยละห้าสิบให้แบ่งให้แก่กรุงเทพมห านคร และเป็นรายได้แผ่นดิน (กระทรวงการคลัง) ส่วนที่เหลือนั้นให้เป็นรางวัลให้กับเจ้าหน้าที่ตำรว จผู้จับกุม ซึ่งในส่วนของตำรวจจราจรก็มีการเปลี่ยนแปลงกันหลายคร ั้ง ซึ่งก็น่าจะเป็นเหตุจูงใจที่ทำให้มีการกวดขันจับกุมผ ู้ฝ่าฝืนกม.มากขึ้น แต่การกระทำความผิดใดๆก็ตาม หากไม่เคยถูกจับมาก่อน ก็ไม่ได้หมายความว่า จะเปลี่ยนสิ่งที่ผิดกม.เป็นสิ่งที่ถูกกม.ไปได้ ไม่ว่าจะไม่เคขถูกจับมา 2 หรือ 3 ปีหรือขับรถผ่านมากี่จังหวัดแล้วก็ตาม ***4. เรื่องไฟตัดหมอก อยากทราบว่าการเปิดไฟตัดหมอกนั้นผิดกฎหมายไหมครับแล้ วถ้าผิดกฎหมายแล้วจะเสียค่าเปรียบเทียบปรับเท่าไหร่ **คำตอบ ขณะนี้กม.เปิดโอกาส ให้รถที่ต้องการติดไฟตัดหมอก 1. สามารถติดได้ที่หน้ารถข้างละหนึ่งดวงอยู่ในระดับเด ียวกัน ใช้ไฟแสงขาวหรือแสงเหลือง มีกำลังไฟเท่ากันไม่เกินดวงละ 55 วัตต์ สูงจากพื้นทางราบไม่เกินกว่าระดับโคมไฟแสงพ่งไกล (ไฟสูง) และโคมไฟแสงพุ่งต่ำ (ไฟต่ำ) ศูนย์รวมแสงต้องอยู่ต่ำกว่าแนวขนานกับพื้นทางราบไม่น ้อยกว่า 2 องศา หรือ 0.20 เมตรในระยะ 7.50 เมตร และไม่เฉไปทางขวา 2. ไฟตัดหมอกจะเปิดไฟหรือใช้แสงสว่างได้เฉพาะในทางที่จะ ขับรถผ่าน มีหมอก ควัน หรือฝุ่นละอองจนเป็นอุปสรรค อันอาจเกิดอันตรายในขณะขับรถ และเมื่อไม่มีรถอยู่ด้านหน้าหรือสวนมาในระยะของแสงไฟ ดังนั้น สรุปว่า 1. การติดไฟตัดหมอก มีเงื่อนไขตาม ข้อ 1 2. การใช้ไฟตัดหมอก ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขตาม ข้อ 2 5. เรื่องการใส่ part รอบคัน รถตู้ใส่กันชนรอบคันและมีเสาอากาศอยู่ด้านหลังจะผิดก ฏหมายหรือเปล่าครับ คำตอบ รถ ตู้หรือรถอื่นที่ติดกันชนรอบคัน หากพิจารณาจากการติดตั้งแล้ว ไม่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของผู้ อื่น เช่นไม่ติดยื่นยาวจนเกินไป หรือไม่มีลักษณะเป็นของแหลมคม เมื่อมีคนเดินผ่านรถไปเฉี่ยวถูก ทำให้ได้รับบาดเจ็บ ก็ยังไม่เป็นความผิด การติดเสาอากาศก็เช่นเดียวกัน การติดกันชนรอบคัน แม้จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายกับตัวรถ แต่ก็เสียเงิน และทำให้น้ำหนักรถเพิ่มขึ้นโดยใช่เหตุ เปลืองน้ำมันรถเปล่าๆ กันชนเดิมก็มีอยู่แล้ว ----------------------------------------------------------- มารยาทในการขับรถ การ ใช้ถนนร่วมกัน นอกจากกฎหมายราชการแล้ว ยังควรมีมารยาทและความเอื้ออาทรต่อกัน เพื่อให้มีทั้งความราบรื่นและความปลอดภัยในการเดินทา งผู้ขับรถยนต์ไทยกับมารยาทในการ ใช้รถใช้ถนนร่วมกันยังมีไม่มากนัก หากไม่หันมาสนใจและรณรงค์ร่วมกัน การรักษามารยาท ก็คงจะถดถอยลงเรื่อยๆ มารยาทและวิธีปฏิบัติต่อไปนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่รวบรวมขึ้น ซึ่งอาจ มีอีกหลากหลายแนวทาง ถ้าเห็นว่าสมควรก็นำไปปฏิบัติได้ **1. ข้ า ม สี่ แ ย ก - ต ร ง ไ ป ไ ม่ ค ว ร เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น การ ข้ามสี่แยกแล้วต้องการตรงไป พร้อมกับเปิดไฟฉุกเฉินกะพริบสี่มุม เป็นวิธีที่ผิด ! อันตราย ! และแพร่หลายกันอยู่ไม่น้อยเหตุผลที่ไม่ควรเปิดไฟฉุกเ ฉินในกรณีนี้ เพราะผู้ขับรถยนต์ที่มา ด้านซ้าย-ขวา จะเห็นไฟกะพริบด้านหน้าเพียงมุมเดียว เสมือนเป็นการเปิดไฟเลี้ยว โดยไม่ทราบเลยว่าเป็นการเปิดไฟฉุกเฉินกะพริบพร้อมกัน สี่มุมซ้าย-ขวา ลองนึกภาพแล้ว จะพบว่า ไฟเลี้ยวด้านหน้า แม้จะกะพริบพร้อมกันซ้าย-ขวา แต่ผู้ขับรถยนต์คันที่มาด้านข้าง ในแต่ละด้านจะเห็นไฟกะพริบเพียงมุมเดียว โดยเฉพาะผู้ที่มาจากด้านซ้าย จะไม่ชะลอ ความเร็วลงหรือไม่ให้ทาง ด้วยคิดว่ารถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉินจะเลี้ยวซ้าย เพราะไม่เกี่ยว กับเขาเลยนอกจากนั้นในมุมอื่น หากมีรถยนต์บางคันบังรถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉิน ผู้ขับ รถยนต์คันอื่นๆ อาจเข้าใจผิดว่าคิดเป็นการเปิดไฟเลี้ยวเฉพาะมุมที่เข าเห็นในกฎหมาย จราจรไม่มีการระบุไว้ว่า ต้องเปิดไฟฉุกเฉินเมื่อต้องการข้ามสี่แยกแล้วตรงไป วิธีปฏิบัติที่ ถูกต้องและปลอดภัย คือ เบรกชะลอความเร็วลง มองซ้าย-ขวา เมื่อเส้นทางว่างพอ ก็ตรง ไปด้วยความเร็วที่เหมาะสม โดยไม่ต้องเปิดสัญญาณไฟใดๆ ใช้สมาธิและเวลามองรถยนต์ คันอื่น ปลอดภัยกว่าเสียสมาธิและเวลาเปิด-ปิดสวิตช์ไฟฉุกเฉิน **2. ฝ น ต ก หนั ก ไ ม่ ค ว ร เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น นับเป็นความหวังดี แต่อาจให้ผลร้าย ที่เกรงว่าผู้ร่วมทางจะไม่สามารถมองเห็นรถยนต์ ของ ตนเมื่อฝนตกหนักในความเป็นจริง ไม่ควรเปิดไฟฉุกเฉิน เพราะจะแยงสายตา และหากมีรถยนต์บางคันบังรถยนต์คันที่เปิดไฟฉุกเฉิน ผู้ขับรถยนต์คันอื่นๆ อาจเข้า ใจผิดว่าเป็นการเปิดไฟเลี้ยวเฉพาะมุมที่เขาเห็น รวมถึงการเปลี่ยนเลนโดยไม่ปิดไฟ ฉุกเฉินก่อน เพราะจะไม่มีไฟเลี้ยวให้ใช้บอกเตือนตามปกติ เมื่อฝนตกหนัก วิธีปฏิบัต ิที่ถูกต้องและปลอดภัย คือ ชะลอความเร็วลง ชิดเลนซ้าย-กลาง และเปิดไฟหน้าแบบต่ำ หรือถ้ามีไฟตัดหมอกหลังสีแดงเพิ่มอีก 2 ดวง ก็ควรเปิดด้วย แล้วขับด้วยความระมัด ระวังไฟฉุกเฉินมีไว้ใช้เมื่อฉุกเฉินจริงๆ เช่น รถยนต์จอดเสีย เกิดอุบัติเหตุบนผิว จราจร รถยนต์ถูกลาก (ถ้ามีโอกาส ทำป้ายหรือเขียนกระดาษแปะด้านท้ายว่า - รถลาก- จะช่วยให้ปลอดภัยขึ้น) ในกรณีที่เปิดไฟฉุกเฉินในรถยนต์ถูกลาก ควรชิด เลนซ้าย และถ้าต้องการเปลี่ยนเลน ควรปิดไฟฉุกเฉินแล้วเปิดไฟเลี้ยวล่วงหน้าพอสมควร จากคุณ : บั้งไฟลาว - [ 25 มิ.ย. 50 02:31:22 ] ความคิดเห็นที่ 42 ***3. ส ป อ ต ไ ล ต์ / ไ ฟ ตั ด ห ม อ ก เ ปิ ด เ มื่ อ จ ำ เ ป็ น มี ทั้งติดตั้งเป็นอุปกรณ์มาตรฐานและติดตั้งเพิ่มเอง ตำแหน่งอยู่ตรงด้านล่างของกันชนหน้า 2 ดวง/1 คันรถยนต์บางรุ่นออกแบบให้ใช้เป็นไฟตัดหมอก ซึ่งก็ควรใช้เมื่อมีหมอกตามชื่อเรียกมีการใช้สปอตไลต ์/ไฟตัดหมอกที่ผิดมารยาท สร้างความรำคาญ และเริ่มแพร่หลายขึ้นเรื่อยๆ จนอาจลดความปลอดภัยแก่ผู้ร่วมทาง คือ เปิดใช้ในขณะที่เส้นทางไม่มืดมาก ซึ่งไม่จำเป็น แสงสว่างที่แรงนั้นแยงสายตาทั้งผู้ขับรถยนต์คันที่สว นมา และคันนำหน้า ในเส้นทางปกติไม่ควรเปิดใช ้งานเพราะสว่างอยู่คนเดียว แต่ทำให้คนอื่นตาพร่ามัว คล้ายหรือแย่กว่าการเปิดไฟสูงสาดไปทั่วนั่นเอง บางรายหนักข้อด้วยการเปิดเพียงไฟหรี่ แล้วเปิดสปอตไลต์เพิ่มความสว่าง นับเป็นการรบกวนสายตาของเพื่อนร่วมทางอย่างมาก ก็ไม่ทราบว่าทำเพื่ออะไร ! สาเหตุที่หลายคนเปิดสปอตไลต์หรือไฟตัดหมอกด้านหน้า โดยไม่เกรงใจผู้ขับรถยนต์คันนำ หรือคันที่สวนทางมา เพราะคิดไปเองแต่เพียงว่า ตำแหน่งของสปอตไลต์อยู่ต่ำ ไม่น่าแยงตาเหมือนการเปิดไฟสูง ในความเป็นจริง ไฟส่องสว่างที่ติดตั้งอยู่ต่ำก็อาจแยงตาได้ ถ้ามีแสงแรงและมีการกระจายแสงมากๆสปอตไลต์ส่วนใหญ่มี แสงแรง และมีการกระจายแสงมากจนแยงตาแบบประกายแฉก ถ้าอยากเปิดใช้จริงๆ ควรเปิดแล้วออกไปมองอย่างรอบคอบว่า จะแยงตาผู้อื่นหรือไม่ (ส่วนใหญ่-แยงตา) หากไม่แน่ใจ ก็ไม่ควรเอาเปรียบผู้ขับร่วมทางด้วยการเปิดสปอตไลต์โ ดยไม่จำเป็น ควรเปิดเมื่อมืดจริงๆ และแน่ใจว่าไม่รบกวนผู้อื่นสำหรับคำถามที่ว่า แล้วผู้ผลิตรถยนต์ติดตั้งสปอตไลต์มาเพื่ออะไร แล้วจะได้ใช้เมื่อไรเพราะกลัวไม่คุ้มค่า ผู้ผลิตรถยนต์หลายรายระบุในคู่มือประจำรถยนต์ว่า สปอตไลต์ควรเปิดเมื่อจำเป็นและไม่รบกวนคนอื่น หรือควรเปิดเมื่อหมอกลง และไม่ควรเปิดใช้ต่อเนื่องนานๆ เพราะจะร้อนเกินไปจนจานฉายเสื่อมได้ง่าย การเปิดสปอตไลต์ต่อเนื่องจนร้อน เมื่อต้องลุยน้ำกะทันหัน กระจกด้านหน้าของสปอตไลต์อาจแตกร้าวได้ การติดตั้งสปอตไลต์เพิ่มเติมเองผิดกฎหมาย ทั้งมีการเปิดใช้และไม่ได้เปิด จะไม่ผิดกฎหมายก็ต่อเมื่อมีฝาครอบปิด และไม่ได้เปิดใช้บนเส้นทางเรียบปกติ 4. ถ้ า มี ไ ฟ ตั ด ห ม อ ก ห ลั ง ค ว ร เ ปิ ด เ มื่ อ ห ม อ ก ล ง ห รื อ ฝ น ต ก ห นั ก เ ท่ า นั้ น รถ ยนต์บางรุ่นมีสวิตช์พิเศษสำหรับไฟตัดหมอกด้านหลัง คือ ไฟท้ายสีแดงเพิ่มขึ้นอีกข้างละดวง และมีความสว่างมากกว่า ไฟท้ายปกติมาก เพื่อใช้เตือนผู้ขับรถยนต์คันที่ตามมาเมื่อหมอกลง ฝนหรือหิมะตกหนัก หากเปิดใช้ไฟตัดหมอกหลังสีแดงแสนสว่างในยามทัศนวิสัย ปกติแบบในไทย แสงสว่างที่เพิ่มขึ้นมาจะแยงตาผู้ร่วมทางมาก จึงไม่ควรเปิดใช้ในการใช้รถใช้ถนนปกติ และไม่ควรหลงลืมเปิดโดยไม่จำเป็น 5. ก ะ พ ริ บ ไ ฟ สู ง ข อ ท า ง ห รื อ เ ตื อ น บ้าง เรียกศัพท์สแลงกันว่า ดิฟไฟสูง คนไทยมักใช้เพื่อเตือนไม่ให้รถยนต์ทางโทตัดเข้ามาหาท างเอกหรือทางตรงทั้งที่ในบางประเทศใช้การกะพริบไฟสูง เมื่อต้องการให้ทาง เพราะแสดงว่าเห็นแล้วและให้ทางไปได้ ในขณะที่คนไทยใช้เพื่อบอกว่า เห็นแล้วว่ากำลังจะตัดทางเข้ามา แต่ไม่ให้เข้ามา กรณีนี้กฏหมายไทยไม่มีกำหนดว่าให้ใช้การกะพริบไฟสูงเ พื่อจุดประสงค์ใด อาจเพราะไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นสากลได้ จึงยังคงใช้กันในสไตล์คนไทยได้ แต่ก็มีผู้ที่ใช้เพื่อต้องการให้ทาง ซึ่งน่าจะเหมาะสมกว่า เพราะต้องเห็นก่อนจึงจะสามารถกะพริบไฟบอกได้คงต้องปล ่อยวางและใช้กันไปตามกระแส 6. จ อ ด ใ น พื้ น ที่ ห้ า ม จ อ ด แ ล้ ว เ ปิ ด ไ ฟ ฉุ ก เ ฉิ น นับ เป็นการเอาเปรียบสังคมอย่างหนึ่ง แม้จะเป็นการจอดชั่วคราวก็ตาม เพราะการเปิดไฟฉุกเฉิน แม้จะแสดงว่าจอด แต่ถ้าไม่ใช่เวลาและพื้นที่ซึ่งควรจอดก็ไม่ควรปฏิบัต ิ อีกทั้งยังผิดกฏจราจรอีกด้วย การเปิดไฟฉุกเฉินจอดในพื้นที่ห้ามจอด ไม่สามารถป้องกันการออกใบสั่งได้ 7. เ ป ลี่ ย น เ ล น - แ ซ ง - ขึ้ น ท า ง ต ร ง แ ล้ ว ค ว ร เ ร่ ง ค ว า ม เ ร็ ว เ พิ่ ม การ ขึ้นทางตรงจากซอยหรือทางโท รวมถึงการเปลี่ยนเลน ควรกระทำเมื่อเส้นทางว่างพอ เมื่อเข้าเลนที่ต้องการได้แล้ว บางคนไม่สนใจมารยาทต่อผู้ขับรถยนต์คันที่ตามมา เพราะคิดแต่เพียงว่า ถ้าถูกชนด้านท้ายแล้วจะไม่ผิด เนื่องจากเข้าสู่เส้นทางได้เต็มคันแล้วในทางมารยาท เมื่อเข้าสู่เส้นทางได้เต็มคันแล้ว ควรเร่งความเร็วเพิ่มไล่รถยนต์คันหน้าในระยะที่เหมาะ สมให้เร็วที่สุด โดยไม่ต้องสนใจว่ารถยนต์คันหลังห่างแค่ไหน เพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลังจะได้ไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง และไม่เสี่ยงต่อการเสียโฉมของบั้นท้ายรถยนต์ของตน 8. ก า ร เ บ ร ก ต้ อ ง ส น ใ จ ร ถ ย น ต์ ที่ ต า ม ม า ด้ ว ย ไม่ ใช่เฉพาะเป็นการรักษามารยาท แต่เป็นการเพิ่มความปลอดภัยของตนเองด้วยการเบรก ดูเหมือนผู้ขับส่วนใหญ่จะมองแต่เพียงเป็นการลดความเร ็วเมื่อมีสิ่งกีดขวางด้านหน้า โดยไม่ค่อยสนใจมารยาทและความปลอดภัยของผู้ขับรถยนต์ค ันที่ตามมาถ้ามีโอกาสและเวลาพอ ก่อนการเบรกควรเหลือบ มองกระจกมองหลัง เพื่อจะได้ตัดสินใจกดแป้นเบรกด้วยน้ำหนักและจังหวะที ่เหมาะสมเพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลัง ไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง และไม่เสี่ยงต่อการเสียโฉมของบั้นท้ายรถยนต์ของตน นอกจากนั้น การแตะเบรกโดยไม่จำเป็นก็ถือว่าเสียมารยาทบ้างเล็กน้ อย เพราะไฟเบรกจะสว่าง ทำให้ผู้ขับรถยนต์คันตามมาชะงัก แต่ก็อย่ากังวลมากจนแตะเบรกช้าเพราะอาจเป็นอันตราย การเบรกมิใช่ต้องสนใจแต่เพียงด้านหน้าเท่านั้น ด้านหลังก็ต้องสนใจทั้งความปลอดภัยและมารยาท 9. ก้ ม ศี ร ษ ะ ข อ บ คุ ณ ลื ม ไ ป แ ล้ ว ห รื อ ? ใน ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ผู้ขับมีการก้มหัวขอบคุณเมื่อได้รับการให้ทาง แต่ในระยะหลังมานี้เริ่มมีการหลงลืมไปบ้างโดยอาจเป็น เพราะการรักษาศักดิ์ศรีแบบแปลกๆ เช่น ผู้ขับรถยนต์หรูราคาแพง มักไม่ยอมขอบคุณผู้ขับรถยนต์ราคาถูกที่ให้ทาง หรือผู้ชายมักไม่ยอมขอบคุณผู้หญิง ฯลฯน่าชื่นชมมาก เมื่อมีผู้ขอบคุณ ให้เมื่อได้รับการให้ทาง หากกลัวจะเสียศักดิ์ศรีแบบแปลกๆ ไม่อยากก้มศีรษะให้ ก็สามารถใช้วิธียกแขน พร้อมแบฝ่ามือครบทั้ง 5 นิ้ว (เน้นครบ 5 นิ้ว เพื่อป้องกันการเข้าใจผิด) ซึ่งยังดีกว่าการเพิกเฉย การขอบคุณในสิ่งที่สมควร ไม่ใช่เรื่องเสียศักดิ์ศรีแต่อย่างใด 10. ไ ฟ เ ห ลื อ ง ค ว ร เ ร่ ง ห นี ห รื อ เ บ ร ก ? ตาม หลักการที่ถูกต้องอันเป็นสากล แต่ไม่ค่อยมีการปฏิบัติ คือ ต้องเบรกและจอดเมื่อเห็นไฟเหลืองก่อนไฟแดงผู้ขับรถยน ต์ไทยส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่เมื่อเห็นไฟเหลือง คือ ไฟเตือนให้เร่งหนีการติดไฟแดง ซึ่งไม่ถูกต้องนัก เพราะการที่ไฟเหลืองสว่างขึ้นก่อนจังหวะไฟแดง ตามหลักการจริงเป็นการเตือนเพื่อให้ผู้ขับชะลอความเร ็วและจอด ในเมื่อวิถีการขับรถยนต์ของคนไทยส่วนใหญ่ เมื่อเห็นไฟเหลือง คือ ไฟเตือนให้เร่งหนีการติดไฟแดง ก็คงหลีกหนีไม่พ้น และยากที่จะให้ชะลอความเร็วลงและเบรกเมื่อเห็นไฟเหลื องสว่างขึ้นก่อนจังหวะไฟแดง ถ้าอยากจอดเมื่อเห็นไฟเหลืองแล้วเบรกเพื่อจอด ก็นับเป็นเรื่องที่ดี แต่ต้องระวังเรื่องความปลอดภัยจากการถูกชนท้าย เพราะคนไทยส่วนใหญ่ เมื่อเห็นไฟเหลืองจะเข้าใจกันว่าเป็นการเตือนให้เร่ง หนีการติดไฟแดงหากต้องการฝืนสังคม (ทั้งที่ไม่ผิด) ควรเหลือบมองกระจกมองหลัง เพื่อจะได้ตัดสินใจกดแป้นเบรกด้วยน้ำหนักและจังหวะที ่เหมาะสม เพื่อมารยาท ผู้ขับรถยนต์คันหลังไม่ต้องเบรกจนตัวโก่ง 11. ไ ฟ เ ลี้ ย ว ต้ อ ง เ ปิ ด - ปิ ด อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม นับ เป็นเรื่องพื้นฐานที่ถูกมองข้าม การเปิดไฟเลี้ยวเป็นเรื่องจำเป็น เพราะกฎหมายกำหนดให้มีการเตือนผู้ร่วมทางล่วงหน้าตาม ระยะที่เหมาะสมควรเปิดไฟเลี้ยวเมื่อเตรียมเปลี่ยนเลน หรือเลี้ยวล่วงหน้าพอสมควร และไม่ควรเปิดค้างลืมทิ้งไว้ 12. ชิ ด ซ้ า ย เ ส ม อ บน ถนนหลายเลนมักมีการเตือนว่า -ขับช้า ชิดซ้าย- ซึ่งไม่ค่อยตรงกับหลักการขับปลอดภัยและมารยาทในการใช ้ถนนนักเพราะจะมีรถยนต์แล่นอยู่เลนขวาตลอด โดยคิดว่าความเร็วที่ใช้ในขณะนั้นถือว่าเร็วแล้ว ซึ่งอาจเป็นเพราะกฎหมายไทยกำหนดให้ใช้ความเร็วสูงสุด ไม่เกิน 80-90 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อใช้ความเร็วเกินขึ้นไปแล้ว ก็มักคิดไปเองว่าเร็วพออยู่แล้ว จึงสามารถแล่นชิดขวาได้ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง รักษามารยาท และปลอดภัยในการใช้เลนขวา คือ -แซงแล้วชิดซ้าย- ไม่ว่าจะใช้ความเร็วสูงเท่าไรก็ตาม เร็วแล้วแต่ยังมีเร็วกว่าได้ ถึงจะผิดกฎหมายในการใช้ความเร็วสูง ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ... มารยาทในการขับรถยนต์ เป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม ทั้งเพื่อตัวเองและผู้ร่วมทาง[/COLOR][/B] เครดิตจากเวปพันทิปครับ ขอบคุณท่าน จขกท ด้วยที่นำคำตอบมาเผยแพร่[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
ขอระบาย เรื่อง บุคคลที่เรียกแทนตัวเองว่า "ผู้รักษากฎหมาย"
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...