เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
รถมือ 2 เรื่อนไมล์ สูงๆ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="DUKE_68, post: 1122895, member: 33494"]<font size="3"><b>3. เครื่องยนต์ </b></font></p><p><font size="3"> คราวนี้ก็ว่าด้วยเรื่องเครื่องยนต์กลไกต่างๆ แม้ว่าในปัจจุบันนี้รถญี่ปุ่น จะมีเครื่องใช้แล้วจากญี่ปุ่นเข้ามาจำหน่ายมากมายและหาง่ายก็ตาม แต่ราคาของเครื่องยนต์ก็เป็นเรือนพันเรือนหมื่น จึงควรตรวจดูอย่างรอบคอบ เพื่อจะได้ไม่ต้องเสียเงินโดยไม่จำเป็น จากนั้นเมื่อสตาร์ทเครื่องแล้ว ให้ดูว่าเครื่องยนต์เดินเรียบหรือไม่และให้ฟังดูว่ามีเสียงอะไรผิดปกติหรือไม่ มากน้อยแค่ไหน มีเสียงดังแต็ก..แต็ก ของวาล์วหรือไม่ หรือเสียงดังกั๊ก ๆ ที่เกิดจากแคมชาฟท์หรือเพลาข้อเหวี่ยง สลักลูกสูบหรือไม่ ถ้ามีก็แสดงว่าเครื่องยนต์มีปัญหาใหญ่แน่ ๆ ต่อมาให้ลองฟังดูว่ามีเสียงของลูกปืนไดชาร์จไดสตาร์ทด้วย </font></p><p><font size="3"> จากการฟังก็มาถึงการใช้วิธีดมกลิ่นที่ท่อไอเสียดูถ้ามีกลิ่นไม่ฉุนมากนักก็แสดงว่าเผาไหม้ได้ หมด แต่ถ้ามีกลิ่นฉุนรุนแรงหรือมีควันสีดำออกมาเวลาเร่งเครื่องก็แสดงว่าเผาไหม้ไม่หมดเครื่อง ยนต์ไม่สมบูรณ์ และรถคันนั้นจะกินน้ำมันมากกว่าปกติอีกด้วย หรือถ้าเป็นควันดำสีขาวไหลออก ทางปลายท่อ ยิ่งมีปริมาณมากเท่าไร ก็ยิ่งแสดงว่าเครื่องหลวมมากเท่านั้น </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>4. ระบบแอร์</b></font></p><p><font size="3"> ตรวจสอบแอร์ดูว่ามีเสียงของพัดลมดังผิดปกติหรือไม่เสียงของคอมเพรสเซอร์แอร์ดังขึ้นมาไหม ซึ่งทดลองได้ไม่ยากนัก แค่ปิด-เปิดแอร์ แล้วฟังเสียงดู ถ้ามีเสียงดังตอนเปิด และเงียบลงตอนปิด ก็แสดงว่าคอมแอร์เริ่มมีปัญหาแล้วล่ะ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b> 5. ระบบเกียร์ </b></font></p><p><font size="3"> สำหรับระบบเกียร์นั้นมีวิธีการตรวจเช็กแบบง่ายๆ รถจอดอยู่กับที่ก็สามารถตรวจได้ ถ้าเป็นเกียร์อัตโนมัติให้ลองเข้าเกียร์ D ดูว่ามีการกระตุกที่รุนแรงไหม โดยใช้เท้าซ้ายเหยียบเบรกเอาไว้แล้วใช้เท้าขวาเหยียบคันเร่งลงไปเรื่อยๆ ถ้ารอบอยู่ที่ประมาณ 2,000 รอบ/นาที ก็ถือว่าใช้ได้ แต่ถ้ารอบเลยขึ้นไปถึง 2,500-3,000 รอบขึ้นไป ก็แสดงว่าชุดคลัตช์เริ่มลื่นแล้วซึ่งค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมนั้นสูงมาก ตั้งแต่ 20,000 บาท ถึงหลักแสนแล้วแต่อาการ</font></p><p><font size="3"> เกียร์ธรรมก็เช่นกัน ให้ติดเครื่องและเข้าเกียร์หนึ่งโดยใช้เท้าขวาเหยียบเบรกเอาไว้และค่อยๆ ปล่อยคลัตช์ดู ถ้าเครื่องดับแสดงว่าคลัตช์ยังดีอยู่ แต่ถ้าเครื่องยังไม่ดับก็เป็นอันว่าชุดคลัตช์กลับบ้านไปแล้ว </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>6. สภาพห้องโดยสาร</b></font></p><p><font size="3"> การตรวจสอบภายในห้องโดยสารให้ตรวจสอบอย่างละเอียดว่าระบบไฟฟ้าทั้งหลาย ระบบไฟสัญญาณต่างๆ บนหน้าปัดขณะที่บิดกุญแจไปยังตำแหน่ง ON สัญญาณเครื่องหมายต่าง ๆบน หน้าปัดจะต้องมีโชว์ขึ้นมาทั้งหมด เมื่อเครื่องยนต์สตาร์ทติดแล้วไฟต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องดับหมด ซึ่งถ้าดวงไหนยังไม่ดับแสดงว่า ระบบนั้นต้องมีปัญหา เช่น ไฟ ABS ถ้าติดอยู่แสดงว่าระบบ ABS มีปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งแน่ และอาจจะต้องเสียเงินค่าซ่อมเป็นเงินหลายตังค์แน่ๆ หรือถ้าไฟ AIR BAG ติดอยู่แสดงว่าระบบ ถุงลมนิรภัยมีปัญหาแน่ ส่วนในบางทีถ้าบิดสวิตช์กุญแจแล้วไฟสัญญาณบางดวงไม่โชว์ทั้งที่มีระบบนั้น ก็แสดงว่า มีการถอดหลอดออกเพื่อไม่ให้ไฟโชว์ แบบนี้ให้ระวังให้ดี</font></p><p><font size="3"> และอีกอย่างสำหรับรถรุ่นใหม่ๆ ก็อย่าลืมตรวจกระจกไฟฟ้า สวิตช์ไฟระบบไฟส่องสว่าง ต่างๆ ว่าทำงานหรือไม่ ระบบเครื่องเสียงยังคงใช้ได้อยู่ไหมไม่ใช่มีไว้แค่ประดับรถให้เจ้าของที่จะซื้อเอาไว้ดูเล่น ตรวจเบาะนั่งทุกตัวต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ พร้อมทั้งดูอุปกรณ์อื่นๆ ประกอบด้วย</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b> วิธีเลือกรถมือสอง</b></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"> รถยนต์มือสองเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้ที่ต้องการซื้อรถ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้แต่เนื่องจาก การ ซื้อรถมือสอง มีความเสี่ยงที่สูงว่าจะได้รถที่ดีจริงตามที่โฆษณาหรือไม่นั้น ทำให้หลายคนยอมที่จะซื้อรถป้ายแดงเพื่อ ความสบายใจ วันนี้ ผมจะมาแนะนำวิธีการเลือกซื้อรถมือสอง อย่างง่ายๆ เผื่อเวลาเพื่อนๆไปดูรถ จะได้พอจะ ดูได้ว่ารถคันนี้ดีจริงหรือไม่ครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">เริ่มแรก ในการซื้อรถ ผู้ซื้อรถ ควรจะกำหนดงบประมาณ และ รุ่นที่ตนเองต้องการไว้ก่อน จากนั้นเมื่อได้รุ่นที่ตนเองต้องการแล้ว ให้ไปดูรถที่เต็นท์รถก่อน ตรงนี้ผมไม่ได้แนะนำให้ซื้อที่เต็นท์นะครับ แต่เต็นท์รถ จะเป็นแหล่งความรู้พื้นฐานที่ดีสำหรับผู้ซื้อรถครับ สิ่งที่ผมต้องการให้ดูคือ เครื่องยนต์ ครับ เพราะโดยพื้นฐานแล้ว ผู้ซื้อรถส่วนใหญ่จะไม่ทราบว่า รถรุ่นไหน มีเครื่องยนต์รุ่นไหน ดังนั้นเวลาดูพยายามจำ เครื่องยนต์ ให้ได้ก่อนครับ เพื่อที่เวลาซื้อจริงๆ จะได้ไม่โดนรถที่เปลี่ยนเครื่องยนต์มา นอกจากนั้น ก็พยายามถามราคาและจำอุปกรณ์เสริมต่างๆด้วยก็ดีครับ ลองเปรียบเทียบสัก 2-3 คัน คุณก็จะได้ข้อมูลตรงส่วนนี้แล้วครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">ขั้นที่สอง เริ่มหารถที่ต้องการ โดยส่วนใหญ่แล้ว ราคารถบ้านจะถูกกว่ารถเต็นท์ แต่บางคันก็ไม่ใช่ เนื่องจาก ราคารถเต็นท์ มักจะอิงจากราคากลาง บวก กำไร แต่ราคารถบ้าน มักจะตั้งตามความต้องการของผู้ขาย ดังนั้นเวลาหารถ ให้พิจารณาราคาประกอบด้วยครับ พยายามหาจากหลายๆแหล่งเช่น จากเต็นท์รถ , หนังสือรถ หรือรถที่ประกาศขายตามเวบไซค์ต่างๆ ถึงตรงนี้คุณจะได้รถที่เป็นตัวเลือกไว้แล้วครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">ขั้นที่สาม ไปดูรถ เวลาไปดูรถ ถ้าเป็นคุณผู้หญิงแนะนำว่าไม่ควรไปเพียงคนเดียวครับ และสถานที่ดูนั้น ควรจะเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยด้วยนะครับ ส่วนวิธีการดูรถแบบง่ายๆ ก็มีขั้นตอนดังนี้ครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>1. ดูเครื่องยนต์และอุปกรณ์เสริมต่างๆ</b> เปรียบเทียบ กับข้อมูลที่คุณมีครับ ถ้าไม่ตรงกันก็ลองถามผู้ขายดู ถ้าไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนก็ไม่ควรซื้อครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>2. รถบางคันก็จะติดเครื่องเสียงมาใหม่</b> และมักจะอ้างราคาเครื่องเสียง เพื่อเพิ่มราคารถ ตรงนี้ต้องพิจารณาให้เองว่า คุ้มหรือเปล่า เช่น ติดมา 1 แสน จะมาบวก 1 แสนก็เกินไปครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>3. ดูใต้ท้องรถครับ </b>เช่น คัดซี มีการตัดต่อหรือเปล่า ยางหุ้มต่างๆ และรอยน้ำมันที่อาจจะรั่วหรือซึม ครับ ปกติ ใต้ท้องรถนี่อาจจะไม่ค่อยได้ดูกัน เพราะไม่สะดวก วิธีง่ายๆอีกอย่างคือ ดูสถานที่ที่รถจอดว่ามีรอยน้ำ หรือ น้ำมัน ที่พื้นหรือเปล่าครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>4. ดูว่ารถเคยเกิดอุบัติเหตุมาหรือไม่</b> วิธีดูก็ใช้หลักง่ายๆครับ คือ ดูที่ตะเข็บ ครับ รถที่ออกจากโรงงานรอยตะเข็บต่างๆจะดูเป็นระเบียบ แต่ถ้าชนมา และมีการซ่อม รอยตะเข็บจะดูไม่เรียบร้อย สามารถดูรูปประกอบได้ครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>โดยบริเวณที่รถมักจะชนคือ</b></font></p><p><font size="3">ด้านหน้า เปิดฝากระโปง หน้า แล้วดูรอยตะเข็บ ตามแนว ขอบรถด้านข้าง ตามลักษณะการชนคือ </font></p><p><font size="3">1. ชนมุม รอยตะเข็บที่มุม จะไม่เรียบร้อย</font></p><p><font size="3">2. ชนตรงๆ รอยตะเข็บที่มุมทั้ง 2 ฝั่ง จะไม่เรียบร้อย </font></p><p><font size="3">3. ชนด้านข้าง ให้ดูรอยตะเข็บด้านข้าง จะไม่เรียบร้อย</font></p><p><font size="3">4. ถ้าชนหนักจนยุบมาถึงห้องเครื่อง ให้ดูรอยตะเข็บตามรูป จะไม่เรียบร้อย</font></p><p><font size="3">5. ถ้าชนไม่แรง ให้สังเกตุกันชน จะไม่พอดีการโครงรถ เช่น มีช่องว่างเกิดขึ้น</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>ด้านหลัง</b> เปิดกระโปงหลัง และเปิดผ้าคลุมขึ้น แล้วดูรอยตะเข็บที่เรียกว่า รอยแปรงปัด </font></p><p><font size="3">วิธีการดูการเหมือนกับด้านหน้า ทุกอย่าง แต่ถ้าชนหนัก ให้ดูที่รอยแปรงปัด ครับจะไม่เป็นระเบียบ </font></p><p><font size="3"> ด้านข้าง ทั้ง 2 ฝั่ง เปิดประตูออก ให้หมด แล้วดูความเรียบร้อยของโครงสร้างครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">โดยปกติจะดูยากครับ เพราะจะไม่มีรอยตะเข็บให้ดู ถ้าไม่แรงมาก ความเสียหายมักจะไม่ถึงตัวโครงรถ จะเสียหายเพียงประตู สำหรับความคิดของผม ถือว่า ไม่เป็นเรื่องใหญ่ครับ แต่ถ้าต้องการดูก็ลองดูรอยตะเข็บบริเวณขอบประตูและตัวบานพับครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">หลังคา (เกิดจากการพลิกคว่ำ) เปิดประตูออกแล้วดูรอยตะเข็บ บริเวณ คานหน้ารถ เพราะปกติ ถ้ารถพลิกคว่ำแล้ว มักจะยุบบริเวณคานหน้ารถ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>5. ทดลองขับครับ </b>ส่วนที่ต้องดูคือ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">1. ลองขับแล้วปล่อยพวงมาลัยดูว่ามีการกิน ซ้าย หรือ ขวา หรือเปล่า ถ้ามีลองเข้าศูนย์ ตรวจสอบดู เพราะอาจจะเกิดการชนแล้วทำให้ศูนย์เสียได้ </font></p><p><font size="3">2. ดูว่าเครื่องมีปัญหาหรือเปล่า หลัก ง่ายๆ คือ ไม่ควรสั่น , เดินเรียบ และควันที่ออก ไม่ควรดำ (สำหรับรถดีเซล) หรือ ขาว (สำหรับรถเบนซิล) </font></p><p><font size="3">3. สังเกตเกียร์ ถ้าเกียร์ Auto เวลาเปลี่ยนมีการกระตุก หรือเปล่า ส่วนเกียร์ ธรรมดา ให้ลองว่า เข้าเกียร์ยากหรือเปล่า </font></p><p><font size="3">4. สังเกตระบบปรับอากาศว่า ใช้งานได้ดีหรือเปล่า </font></p><p><font size="3">5. ระบบไฟต่างๆ เช่น ไฟเลี้ยว ไฟเบรก ไฟหน้า ไฟหลัง และไฟในห้องโดยสาร </font></p><p><font size="3">6. เบาะนั่งทุกตัว โยก หรือเปล่า </font></p><p><font size="3">7. เข็มขัดนิรภัย ยังใช้ได้หรือเปล่า โดยการดึงแรงๆ ถ้าดึงแล้วติด ถือว่าใช้ได้</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>ขั้นสุดท้ายจ่ายเงิน โอนรถ </b>ไม่ควรใช้วิธีโอนลอย คือ จ่ายเงิน แล้วก็จบ ไม่ไปโอนเปลี่ยนชื่อเจ้าของรถ สละเวลาเพียงครึ่งวัน หรือให้บริษัทที่รับโอนแทน จัดการ เพื่อความถูกต้องและไม่เกิดปัญหาทีหลังครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>การเลือกซื้อรถมือสอง</b></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">ท่านที่ต้องการซื้อรถมือสองหรือรถใหม่ก็แล้วแต่ ควรรู้ถึงความต้องการที่แท้จริงของตัวเองเสียก่อนว่าจะนำรถไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อะไรปัจจัยต่อไปที่เราจะพูดถึงก็คือ การพิจารณาในการเลือกซื้อรถมาใช้ ควรดูว่ารถที่เราจะขับเป็นรถยี่ห้ออะไร และมีศูนย์บริการหรือบริการหลังการขายอย่างไร อะไหล่มีราคาถูกหรือราคาแพงและหาได้ง่ายหรือไม่ เพราะรถมือสองอาจจะต้องมีการซ่อมหลังจากการซื้อมามากหน่อย ซึ่งถ้าเป็นรถทางค่ายยุโรปอาจจะมีปัญหาเรื่องการหาอะไหล่ราคาถูกได้ยาก หรืออาจจะต้องรออะไหล่นาน สิ่งเหล่านี้สามารถดูได้จากความนิยมในการใช้ทั่วๆ ไป ถ้ามีความนิยมใช้มากอะไหล่ก็จะหาได้ง่ายและมีราคาถูก ดูปีที่ผลิตรถว่ารถเก่าไปไหม หรือจะใช้ได้อีกนานหรือไม่ ดูว่าหากต้องการขายต่อ ยังพอได้ราคาอยู่หรือเปล่า ดูเลขกิโลเมตรกับปีรถว่าเหมาะสมกันหรือไม่ ซึ่งเรากำลังจะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ครับ </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>1. การตรวจเช็คสภาพภายนอกของรถยนต์</b> คือ การดูตัวถังภายนอกและการดูสีของรถยนต์ การดูสีของรถยนต์ควรดูที่สว่างๆ แต่ไม่ใช่กลางแดดจัด ให้มีแสงพอสมควร เริ่มจาก </font></p><p><font size="3"> 1.1 ยืนในต่ำแหน่งหน้ารถ แล้วนั่งลงมองในระดับฝากระโปรงหน้าทั้งด้านซ้าย และด้านขวาดูเส้นขอบตรงหน้ารถไปจรดท้ายที่เป็นเส้นตรงว่ารอยหรือเส้นขอบต่างๆ ผิดเพี้ยนหรือไม่ถ้าดูแล้วมีรอยยุบของเส้นขอบต่างๆ ที่ไม่ต่อเนื่องสันนิษฐานได้ว่ารถคันนี้ได้มีการทำสีมาแล้ว </font></p><p><font size="3"> 1.2 เดินดูรอบรถโดยดูเส้นขอบของประตูเป็นแนวเดียวกันหรือไม่ มีรอยโค้ง รอยนูนหรือเว้าหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 1.3 ดูช่องว่างระหว่างประตูแต่ละบานว่าเหมาะสมกันหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 1.4 ดูตัวถังว่ามีการโป๊วสีมาหรือไม่ โดยการใช้นิ้วดีดหรือเคาะเพื่อทำการฟังเสียง โดยทำรอบๆ ตัวรถบริเวณที่มีเสียงทึบมีโอกาสเป็นไปได้ว่ารถได้มีการทำสีมาก่อน เสียงที่ดีต้องเป็นเสียงป็อกๆ ถือว่าใช้ได้ </font></p><p><font size="3"> 1.5 ต่อไปให้ดูว่าผิวสีเรียบเป็นปรกติเหมือนกันทั้งคันหรือไม่ เพราะถ้าผิวสีที่มีรอยนูนหรือเว้า หรือลักษณะของสีที่แตกต่างกัน </font></p><p><font size="3"> 1.6 ดูส่วนประกอบรอบๆ รถ เพื่อที่จะบอกได้ว่าเจ้าของเก่ามีการใช้รถเป็นอย่างไร </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>2. การดูภายในห้องเครื่องยนต์</b> เปิดฝากระโปรงหน้าขึ้น เริ่มจาก </font></p><p><font size="3"> 2.1 ดูที่คานหน้าหม้อน้ำ ทั้งด้านบนและล่าง รูน๊อตยึดต่างๆ กลมเป็นปรกติหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 2.2 ดูสภาพของสีกลมกลืนทั้งห้องเครื่องยนต์หรือไม่ ถ้าสีเหมือนกันแต่พ่นใหม่อาจจะมีการยกเครื่องออกมา เพื่อทำการซ่อมตัวถังหรือซ่อมเครื่องยนต์ </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3"> 2.3 ดูตะเข็บรอยต่อเป็นปรกติ เหมือนกันทั้ง 2 ข้าง </font></p><p><font size="3"> 2.4 ดูซุ้มล้อหน้า ซ้าย,ขวา สังเกตสติ๊กเกอร์ NAME PLATE ว่ามีหรือไม่ สภาพเป็นปกติหรือเปล่า </font></p><p><font size="3"> 2.5 ดูร่องน้ำไหล ทั้งซ้ายและขวา ง่ามีรอยบุบหรือคดบ้างหรือไม่ เพราะสิ่งเหล่านี้ จะบ่งบอกถึงการเกิดอุบัติเหตุหรือเพียงแค่ทำสีใหม่เท่านั้นควรดูให้ดี </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>3. การดูเครื่องยนต์ </b></font></p><p><font size="3"> 3.1 คราบหรือร่องรอยของการรั่วซึมของน้ำมันเครื่อง </font></p><p><font size="3"> 3.2 ตรวจสอบระดับน้ำมันเบรก, คลัทช์, น้ำมันพวงมาลัยเพาเวอร์ สีต้องเป็นปกติและสะอาด </font></p><p><font size="3"> 3.3 ระดับน้ำยาหล่อเย็น จะต้องอยู่ในระดับที่กำหนด </font></p><p><font size="3"> 3.4 ระดับน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ สีและกลิ่นของน้ำมัน </font></p><p><font size="3"> 3.5 ระดับน้ำมันเครื่องจะต้องอยู่ในระดับที่กำหนด สีและกลิ่นต้องอยู่ในสภาพที่ดี </font></p><p><font size="3"> 3.6 สภาพของสายพานต่างๆ จะต้องไม่แตกร้าว ความตึงพอเหมาะ </font></p><p><font size="3"> 3.7 ตรวจหม้อน้ำ,ฝาปิดหม้อน้ำ จะต้องไม่รั้วและมีน้ำอยู่ในระดับที่พอเหมาะ </font></p><p><font size="3"> 3.8 สภาพของสายไฟในห้องเครื่องยนต์ จะต้องจัดเก็บเรียบร้อย </font></p><p><font size="3"> 3.9 แบตเตอร์รี่จะต้องไม่บวม ขั้วแบตเตอร์รี่สภาพดี และดูอายุของแบตเตอร์รี่,สภาพของน้ำกลั่น </font></p><p><font size="3"> 3.10 ติดเครื่องฟังเสียงของเครื่องยนต์ว่าผิดปกติหรือไม่ และจะติดเครื่องได้โดยง่าย </font></p><p><font size="3"> 3.11 เมื่อเครื่องยนต์ติดแล้วสังเกตเสียงว่าผิดปกติหรือไม่ เครื่องยนต์เดินเรียบหรือเปล่า </font></p><p><font size="3"> 3.12 ตรวจการรั่วของกำลังอัด ดูไอน้ำมันเครื่อง โดยดึงก้านวัดน้ำมันขึ้นมาดูว่ามีควันหรือกลิ่นไหม้ ถ้าไม่มีถือว่าใชได้ และจะต้องไม่มีแรงดัน ดันออกมาทางด้านก้านวัดน้ำมันด้วย </font></p><p><font size="3"> 3.13 เดินไปท้ายรถสังเกตควันที่ออกจากท่อไอเสีย จะต้องไม่ขาวและดำ ถ้าผิดปกติแสดงว่าเครื่องยนต์ทำงานบกพร่อง อาจจะต้องมีการทำเครื่องยนต์ใหม่</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b> 4. การดูห้องโดยสาร </b></font></p><p><font size="3"> 4.1 แผงหน้าปัทม์ ดูไฟเตือนต่างๆ ขณะเปิดสวิทซ์กุญแจ ต่อจากนั้นสตาร์ทเครื่อง ไฟเตือนต่างๆ จะต้องดับลง </font></p><p><font size="3"> 4.2 ระบบเครื่องเสียงใช้งานได้ตามปกติหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 4.3 ระบบปรับอากาศ อุณหภูมิของลม การปรับตั้ง Mode, Fan, Temperature ทำงานได้ดีหรือเปล่า </font></p><p><font size="3"> 4.4 ไฟส่องสว่างภายในรถ เช็คสัญญาณไฟเลี้ยว, ไฟสูง ว่าติดที่หน้าปัดหรือไม่ขณะทำการเปิด </font></p><p><font size="3"> 4.5 กระจกหน้าต่างทุกบานปิดสนิทหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 4.6 เบาะนั่งอยู่ในสภาพใช้งานได้เป็นปกติสามารถทำการปรับตั้งได้หรือไม่ </font></p><p><font size="3"> *โดยรวมสภาพของห้องโดยสาร จะต้องสัมพันธ์กับอายุของรถ เลขกิโลเมตรร่าเหมาะสมกันหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>5. ดูห้องเก็บสัมภาระท้ายรถ </b>การดูคล้ายๆ กับห้องเครื่องยนต์ </font></p><p><font size="3"> 5.1 รอยตะเข็บต่างๆ ,รอยเชื่อม,รอยบัดกรี จะต้องไม่ผิดเพี้ยนจากจุดใกล้เคียง </font></p><p><font size="3"> 5.2 ร่องรอยการทำสี ว่ามีสีที่ดูใหม่กว่าจุดอื่นหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 5.3 รางน้ำฝากระโปรง ต้องไม่เสียรูป </font></p><p><font size="3"> 5.4 ถ้าเป็นรถเก๋งควรเปิดพรมท้ายรถดูว่ามี เครื่องมือ, ยางอะไหล่อยู่หรือเปล่า และตรวจดูว่ามีน้ำขังอยู่หรือไม่ ถ้ามีอาจเกิดจากการรั่วของรอยตะเข็บบริเวณรางน้ำของฝากระโปรงท้ายได้ </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3"><b>6. ตรวจสอบช่วงล่าง </b>โดยรถยนต์กับที่ </font></p><p><font size="3"> 6.1 กดรถทางด้านหน้าและหลัง เพื่อดูการทำงานของโช๊คอัพจะต้องไม่แข็งและเด้งเร็วเกินไป และดูว่ามีคราบน้ำมันจำนวนมากที่บริเวณโช๊คอัพหรือไม่ ถ้ามีแสดงว่าน่าจะชำรุด </font></p><p><font size="3"> 6.2 ดูยางทั้ง 4 เส้นว่าสภาพของดอกยางมีการสึกหรอสม่ำเสมอหรือไม่ ถ้าไม่สม่ำเสมอแสดงว่าช่วงล่างและศุนย์ล้อน่าจะมีปัญหาสังเกตยางมีการปริแตกหรือฉีกขาดหรือเปล่า ยางยี่ห้อเดียวกันและรุ่นเดียวกันทั้งหมดหรือไม่ เพราะยางแต่ละยี่ห้อ แต่ละรุ่น จะมีการออกแบบมาใช้งาน และการบรรทุกจะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับการผลิตของยางยี่ห้อนั้นๆ ถ้าใช้ยางผิดประเภทจะทำให้เกิดอันตรายได้ </font></p><p><font size="3"> 6.3 ระยะฟรีพวงมาลัยจะต้องมีเล็กน้อย ถ้ามากเกินไปเป็นไปได้ว่า ลูกหมากจะมีปัญหา </font></p><p><font size="3"> 6.4 ถ้าสามารถทำการตรวจสอบใต้ท้องรถได้ ให้ดูว่ามีการผุกร่อนของตัวถังบริเวณใต้ท้องหรือไม่ แซสซีส์ต้องตรงไม่การ บิดเบี้ยว ผุ หรือทีรอยเชื่อมที่เกิดจากการหักของแซสซีส์</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b> 7. การทดสอบโดยการขับขี่</b> ถ้าเป็นไปได้ให้เลือกขับตามสภาพถนนหลายๆ แบบ </font></p><p><font size="3"> 7.1 ทดสอบระบบรองรับว่าทำงานได้ดีหรือไม่ เช่นโช๊คอัพ, สปริง, แหนบ ขณะทำการวิ่งทดสอบว่ามีเสียงดังเกิดจากช่วงล่างหรือไม </font></p><p><font size="3"> 7.2 ขณะทำการเร่งเครื่องยนต์ มีเสียงดังเกิดขึ้นผิดปรกติหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 7.3 ขณะรถวิ่งมีเสียงเข้ามาในห้องโดยสารมากน้อยเพียงใด </font></p><p><font size="3"> 7.4 เวลาวิ่งด้วยความเร็วสูงรถควรมีการเกาะถนนที่ดีพอ และจะต้องไม่มีอาการส่ายหรือโครงไปมา </font></p><p><font size="3"> 7.5 ทดลองเลี้ยวซ้ายและขวาดูว่า ช่วงล่างเกิดเสียงดังหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 7.6 การทำงานของเบรกระบบ ABS ทำงานเป็นปกติหรือไม่ โดยทำงานของเบรก ABS ขณะเบรกแบบกะทันหันจะมีการเคลื่อนตัวขึ้นลงแป้นเบรกเป็นระยะ ในขณะที่ไม่ได้ถอนเท้าออกจากแป้นเบรก ถ้ามีแสดงว่าเป็นปกติ </font></p><p><font size="3"> 7.7 ทดสอบศูนย์ขณะรถวิ่ง ว่าดึงไปมาข้างใดข้างหนึ่งหรือไม่ และพวงมาลัยตรงพอดีหรือไม่ </font></p><p><font size="3"> 7.8 การตัดต่อของคอมเพรสเซอร์แอร์ขณะขับขี่มีเสียงดังเป็นปกติหรือไม่ หากมีเสียงดังเกินไปอาจเกิดจากลูกปืนคลัทช์หน้าคอมเพรสเซอร์แอร์ชำรุด </font></p><p><font size="3"> 7.9 หลังจากขับทดสอบแล้วให้ติดเครื่องทิ้งไว้สักครู่ เพื่อดูความผิดปกติอีกครั้ง </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b> 8. การดูเอกสารเล่มทะเบียนรถยนต์</b></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">เราจะรู้ประวัติของรถยนต์เบื้องต้นได้โดยการตรวจสอบดูจากเล่มทะเบียนรถยนต์ จะทำให้ทราบว่ารถคันนี้ผ่านการใช้งานมาแล้วกี่ราย มีการเปลี่ยนเครื่องยนต์และสีของรถยนต์หรือเปล่า ควรเลือกซื้อรถที่ผ่านการใช้งานมามือเดียว หรือจากเจ้าของคนเดียว จะช่วยให้เราสามารถซักถามประวัติการใช้รถได้ เอกสารที่ควรใส่ใจมากที่สุด คือสมุดจดทะเบียนไม่ควรมีการแก้ไขโดยไม่มีลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ขนส่งกำกับ หากสมุดจดทะเบียนมีข้อน่าสงสัยไม่ควรทำการซื้อขายรถคันดังกล่าว </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">แต่พอจะสรุปสุดท้ายก็คงต้องดูที่ราคาว่าเหมาะสมกับรถไหม เพราะการซื้อรถมือสองก็ต้องดูตามสภาพความเป็นจริงว่าสภาพรถขนาดนี้ ราคาก็น่าจะอยู่ประมาณนี้ เพราะถ้าจะเอารถมือสองคุณภาพเทียบเท่ารถใหม่ จะให้ราคาถูกก็คงหาได้ยากหรือหาไม่ได้เลย เพราะฉะนั้นควรระลึกไว้ด้วยว่าของถูกและดีไม่มีในโลก ควรเลือกแบบที่เหมาะสมกับราคาตามสภาพรถ และวัตถุประสงค์ของการใช้งานครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>วิธีการเลือกซื้อรถมือสอง </b></font></p><p><font size="3"> <b>การซื้อรถบ้านใช้แล้ว</b> หรือรถมือสองนั้น ถ้าเรามีความละเอียดรอบคอบเพียงพอในการเลือกซื้อ ไตร่ตรองถี่ถ้วนก่อนการตัดสินใจซื้อ ก็จะทำให้เรามีความมั่นใจมากขึ้นว่าซื้อแล้วได้ใช้งานคุ้มค่า ผมเองก็เป็นอีกคนที่เลือกใช้รถมือสอง อาจเป็นเพราะสตางค์ในกระเป๋ามีจำกัด อีกทั้งไม่อยากเป็นภาระมานั่งผ่อน ทุกเดือน รถที่ผมใช้ก็ ถือได้ว่าตอบสนองเราได้เป็นอย่างดีเพียงแต่เราดูแลบำรุงรักษารถให้ดี ก็ใช้ไปได้อีกนาน ขนาดที่คิดได้ว่าจะไม่ยอมขายจะใช้ให้พังคามือเลย เป็นธรรมดา สำหรับรถดี ๆ ไม่จุกจิกกวนใจ กวนเงินในกระเป๋าเรา ทีนี้เรามาดูว่ารถมือสอง ที่เราจะซื้อมีวิธีการเลือก คร่าว ๆ อย่างไร ผมเองต้องขอออกตัวก่อนว่าไม่ใช่เซียนรถหรือพ่อค้ารถ ที่เก่งกาจในการดูรถ เพียงแต่รุ่นพี่ ๆ อาจารย์หลายท่านแนะนำ สอนให้ดู ก็พอเอาตัวรอดได้ พอแนะนำเป็นแนวทางได้บ้าง ขอย้ำ ได้บ้างเท่านั้นนะครับ โดยผมจะแยกเป็นหัวข้อ ๆ เพื่อให้ง่ายในการจดจำครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>1. ดูตัวถัง body </b></font></p><p><font size="3"> รถสวยไม่สวยดูภายนอกรอบคัน ก็พอบอกได้ แต่จะดูให้ถึงว่าเคยชนมาหนัก ๆ มั๊ย ก็ต้อง</font></p><p><font size="3">- เปิดฝากระโปรงหน้ามาดูคานหน้า คานรถทุกคันจะมีรู กลมบ้าง เหลี่ยมบางแล้วแต่ ถ้ารูเบี้ยว ไม่คมก็แสดงว่ามีโดนมา </font></p><p><font size="3">- ป้ายทะเบียนรถยับมีรอยดัด ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนเลยว่าเคยโดนมา แผ่น plate ที่แปะติดคานมา มีรอยยับหรือดัดมาก็เช่นกัน </font></p><p><font size="3">- สันด้านข้างตะเข็บความนูนเสมอกันหรือไม่ รอยอ๊าค จากโรงงานกับอู่เคาะพ่นสีก็ต่างกัน </font></p><p><font size="3">- สำหรับด้านหลัง ก็เปิดฝากระโปรงดูเช่นกัน ไฟท้ายทั้ง 2 ดวงเสมอเบ้าหรือไม่ รอยแยกต่อชิ้นเว้นช่องไฟเท่ากันเปล่ามีเบี้ยวมีเกยกันมั๊ย คานหลังก็ใช้ลักษณะการสังเกตุเหมือนคานหน้าเพียงแต่ต้องลื้อพรมปูท้ายรถออกเพื่อให้เห็นพื้น </font></p><p><font size="3">- พื้นรถด้านหลังโดยมากจะเป็นรอน ๆ ก็สังเกตุดูว่าเท่ากันหรือเปล่า รถบางคันโดนชนหลังมาช่างเคาะทำดีมากดูแทบไม่ออก มาเสียอีตอนน้ำเข้าตรงไฟท้ายเข้าได้แต่ออกไม่ได้ซะด้วยสิ ต้องเช็ด มีบางคันเศษกระจกหลังยังอยู่ให้เห็นเลยครับ </font></p><p><font size="3">- ส่วนด้านข้าง ก็ดูเทียบสี จากโรงงานสีเดิม กับอู่สี สีจะเพี้ยนนิดหน่อยแต่ก็พอเห็น ผมใช้วิธีเคาะ ด้วยมะเหง็กของเรานี่แหละ เคาะรอบคันเลยรถ ที่ทำสีมาแล้วเสียงจะทึบ ๆ หน่อย ชิ้นที่สีเดิมจะมีเสียงโปร่ง ๆ หน่อยฟังดีดี จะรู้ถึงความต่าง อันนี้ไม่ยาก </font></p><p><font size="3">- รถที่เคยหงายตะแคงล้อชี้ฟ้า ก็ดูหลังคารถเคาะ ๆ ดู สังเกตุขอบคิ้วกระจกหน้าหลัง เหมือนกันเปล่ามีรอยแตกของสีโป๊วมั๊ย หลังคาสีสดสวยกว่าประตูข้าง ก็เป็นเรื่องน่าแปลกเพราะเป็นส่วนที่รับแดดเต็ม ๆ แต่ช่างเคาะ ช่างสีบ้านเราฝีมือดีมาก ทำได้เนียนเซียนในเต็นท์ยังมองไม่ออก ฝรั่งยกนิ้วให้ 2 นิ้ว งานฝีมืองานประณีตคนไทยเก่งกาจม๊าก มาก ขอบอกครับ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>2. เครื่อง + ช่วงล่าง + เกียร์ </b></font></p><p><font size="3"> - เครื่อง ถ้าเครื่องมีปัญหา หรือ หลวม จะเป็นอย่างนี้ เสียงดัง ไม่นิ่งรอบสูงบ้างต่ำบ้าง ไม่น่าเชื่อถือ เกี่ยวกันเปล่าหว่า เวลาเครื่องร้อนเรา ก็ดูก้านวัดระดับน้ำมันเครื่องออกมา จะมีควันพุ่งออกมา หรือ น้ำมันเครื่องจะกระเซ็นกระสายเป็นละอองออกมาเอามือไปอัง ๆ ดูก็ได้ไม่ร้อนเท่าไหร่หรอกน่า เชื่อเถอะ</font></p><p><font size="3">- เกียร์ ชุดส่งกำลัง คลัชต์ ถ้าเข้าเกียร์ ออกตัวแล้วสั่น แหงก ๆ กระตุก ๆ เข้าเกียร์ก็ยาก นั่นแหละมีปัญหา วิ่งๆ ไปมีเสียงประสาน หอนแหวกอากาศมาเข้าหูเรา เวลาเข้าเกียร์ว่าง รถจอดนิ่งๆ ไม่ยักกะดังก็นั่นแหละ เกียร์ไปแล้วไปไหนไม่รู้ ไปหาช่างมั้ง เกียร์ auto ก่อนเข้าเกียร์เหยียบเบรคคาไว้ เข้าเกียร์ตำแหน่ง D ไม่กระตุกกระชากก็พอได้เปราะหนึ่ง เข้าตำแหน่งเดิม N แล้วไป R ก็ไม่มีอาการอะไรก็แสดงว่าผ่านไปได้แล้ว 70 % มาลองวิ่งดูว่าเกียร์ทำงานทุกเกียร์เปล่า ไม่ใช่เปลี่ยนแค่ 2 เกียร์อันนี้เสร็จแน่ ออกตัวก็เช่นกัน ออกตัวดีมั๊ย ถ้าต้องรอสักพักถึงเคลื่อนตัวได้แสดงว่ามันจะแย่อยู่นะ</font></p><p><font size="3">- ช่วงล่าง ผม test ไม่เหมือนชาวบ้านเขาหลอก เวลาขับไปเจอฝาท่อ เจอถนนคอนกรีตที่กร่อน มีหลุม บ่อเล็กๆ นั่นแหละชอบลุยเข้าไปเลย เดี๋ยวเสียงกรุ กระ จะปรากฏถ้าไม่แน่น หรือ อาจสะท้านมาถึงพวงมาลัยเลยก็มีแต่อย่าเร็วมากนะอาจเสียงตอนที่เรา test ก็ได้นะเคยมาแล้ว ขอบอกครับ ต่อไปเป็นเบรค และ สภาพยาง บางท่านไม่สนใจเพราะซื้อปุ๊บ เข้าร้านเปลี่ยนของใหม่เลย แบบว่าปลอดภัยไว้ก่อนว่างั้นก็ ok ชัวร์ดี ชีวิตเรานะอย่างว่า ประมาทได้ที่ไหน ได้ไม่คุ้มเสียเลย ผมเคย เสียหายมาก เพราะมัวแต่ผลัดวันประกันพรุ่ง นั่นเอง</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>3. ภายในห้องโดยสาร </b></font></p><p><font size="3"> - กลิ่น ถ้าเปิดรถปุ๊บ สิ่งแรกที่กระทบจมูกโด่ง ๆ ของเราคือกลิ่นอับ ๆ ชื้น ๆ แสดงว่าน้ำเข้ารถ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ยิ่งอัดฉีดมานะ ฮึ่ม ง่ายต่อการดูมากเลย เอายางปูพื้นออก ดูว่าพื้นพรมมีรอยชื้นของน้ำเปล่า บางคันพื้นผุแบบทะลุง่ะ เปิดมานี้ เห็นพื้น ถนนเลย ดูหมดนะทั้ง 4 จุด พื้นผุนี่อันตรายนะ ขับๆ อยู่ตัวหล่นพรั้ว ไปนั่งอยู่กับพื้นถนนละยุ่ง (ล้อเล่นไม่ขนาดนั้นหรอก)</font></p><p><font size="3">- ดูความเรียบร้อย คอนโซล แตกมั๊ย แต่ว่าไม่ได้ พลาสติกน่ะ รถเก่ามาก ๆ ไม่แตกอย่างเดียวมันเหมือนจะละลายเลยเคยเห็นมาแล้ว ช่องแอร์สมบูรณ์เปล่า ซ่อมยากนะช่องแอร์เนี่ย เก่ามาก ๆ ไม่มีอะไหล่เน้อ จะบอกให้ เจ้าของเก่าจะอ้างว่าลูกซนชอบเล่นช่องแอร์ เออมันก็จริงทำไมเด็ก ๆ ชอบเล่นจังไม่รู้</font></p><p><font size="3">- แอร์ ดูอย่างนี้นะ เอ้าดู เปิดแอร์ เบอร์ 1-4 เลยมันไล่ระดับความแรงหรือเปล่า แรงลมสำคัญจะบอกได้ว่าตันหรือเปล่า ล้างแอร์สมัยนี้แพงด้วยนะหลายร้อย พันกว่าก็มีแบบไม่ถอดตู้ เปิดทิ้งไว้แล้วออกไปเดินดูรอบ ๆ รถ 5-6 ชั่วโมง ไม่ใช่ 5นาทีพอ แล้วเดินเข้าไปในรถก็จะรู้ว่าฉ่ำ หรือ ไม่ฉ่ำ มีเสียงอะไรดังผิดปรกติหรือเปล่าแอร์ตัดตามปกติมั๊ย ก็เท่านั้น</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">ปัจจุบันค่อยสะดวก และสบายใจได้ เพราะมีรุ่นน้องผมเปิดเต็นท์รถ ตอนนี้ใครจะซื้อรถผมก็จะแนะนำให้ซื้อที่นี่ เพราะคุยง่าย ไว้ใจได้ ราคาคุยกันได้สะดวกใจหน่อย</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b>พี่น้องท่านใดสนใจจะซื้อรถมือสอง ต้องการรุ่นไหน ไม่ว่าจะเป็นรถบ้านใช้งาน รถยุโรป หรือรถแต่ง ไม่เสียเวลาโทรมาคุยกันได้เลยครับ 084-1000068 ดุ๊กครับ</b></font></p><p><br /></p><p><img src="http://www.bkkcar.com/article/pic/m17.jpg" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" /></p><p><br /></p><p><img src="http://www.lighthousecarcentre.co.uk/graphics/used_cars_selector.jpg" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" />[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="DUKE_68, post: 1122895, member: 33494"][SIZE=3][B]3. เครื่องยนต์ [/B] คราวนี้ก็ว่าด้วยเรื่องเครื่องยนต์กลไกต่างๆ แม้ว่าในปัจจุบันนี้รถญี่ปุ่น จะมีเครื่องใช้แล้วจากญี่ปุ่นเข้ามาจำหน่ายมากมายและหาง่ายก็ตาม แต่ราคาของเครื่องยนต์ก็เป็นเรือนพันเรือนหมื่น จึงควรตรวจดูอย่างรอบคอบ เพื่อจะได้ไม่ต้องเสียเงินโดยไม่จำเป็น จากนั้นเมื่อสตาร์ทเครื่องแล้ว ให้ดูว่าเครื่องยนต์เดินเรียบหรือไม่และให้ฟังดูว่ามีเสียงอะไรผิดปกติหรือไม่ มากน้อยแค่ไหน มีเสียงดังแต็ก..แต็ก ของวาล์วหรือไม่ หรือเสียงดังกั๊ก ๆ ที่เกิดจากแคมชาฟท์หรือเพลาข้อเหวี่ยง สลักลูกสูบหรือไม่ ถ้ามีก็แสดงว่าเครื่องยนต์มีปัญหาใหญ่แน่ ๆ ต่อมาให้ลองฟังดูว่ามีเสียงของลูกปืนไดชาร์จไดสตาร์ทด้วย จากการฟังก็มาถึงการใช้วิธีดมกลิ่นที่ท่อไอเสียดูถ้ามีกลิ่นไม่ฉุนมากนักก็แสดงว่าเผาไหม้ได้ หมด แต่ถ้ามีกลิ่นฉุนรุนแรงหรือมีควันสีดำออกมาเวลาเร่งเครื่องก็แสดงว่าเผาไหม้ไม่หมดเครื่อง ยนต์ไม่สมบูรณ์ และรถคันนั้นจะกินน้ำมันมากกว่าปกติอีกด้วย หรือถ้าเป็นควันดำสีขาวไหลออก ทางปลายท่อ ยิ่งมีปริมาณมากเท่าไร ก็ยิ่งแสดงว่าเครื่องหลวมมากเท่านั้น [B]4. ระบบแอร์[/B] ตรวจสอบแอร์ดูว่ามีเสียงของพัดลมดังผิดปกติหรือไม่เสียงของคอมเพรสเซอร์แอร์ดังขึ้นมาไหม ซึ่งทดลองได้ไม่ยากนัก แค่ปิด-เปิดแอร์ แล้วฟังเสียงดู ถ้ามีเสียงดังตอนเปิด และเงียบลงตอนปิด ก็แสดงว่าคอมแอร์เริ่มมีปัญหาแล้วล่ะ [B] 5. ระบบเกียร์ [/B] สำหรับระบบเกียร์นั้นมีวิธีการตรวจเช็กแบบง่ายๆ รถจอดอยู่กับที่ก็สามารถตรวจได้ ถ้าเป็นเกียร์อัตโนมัติให้ลองเข้าเกียร์ D ดูว่ามีการกระตุกที่รุนแรงไหม โดยใช้เท้าซ้ายเหยียบเบรกเอาไว้แล้วใช้เท้าขวาเหยียบคันเร่งลงไปเรื่อยๆ ถ้ารอบอยู่ที่ประมาณ 2,000 รอบ/นาที ก็ถือว่าใช้ได้ แต่ถ้ารอบเลยขึ้นไปถึง 2,500-3,000 รอบขึ้นไป ก็แสดงว่าชุดคลัตช์เริ่มลื่นแล้วซึ่งค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมนั้นสูงมาก ตั้งแต่ 20,000 บาท ถึงหลักแสนแล้วแต่อาการ เกียร์ธรรมก็เช่นกัน ให้ติดเครื่องและเข้าเกียร์หนึ่งโดยใช้เท้าขวาเหยียบเบรกเอาไว้และค่อยๆ ปล่อยคลัตช์ดู ถ้าเครื่องดับแสดงว่าคลัตช์ยังดีอยู่ แต่ถ้าเครื่องยังไม่ดับก็เป็นอันว่าชุดคลัตช์กลับบ้านไปแล้ว [B]6. สภาพห้องโดยสาร[/B] การตรวจสอบภายในห้องโดยสารให้ตรวจสอบอย่างละเอียดว่าระบบไฟฟ้าทั้งหลาย ระบบไฟสัญญาณต่างๆ บนหน้าปัดขณะที่บิดกุญแจไปยังตำแหน่ง ON สัญญาณเครื่องหมายต่าง ๆบน หน้าปัดจะต้องมีโชว์ขึ้นมาทั้งหมด เมื่อเครื่องยนต์สตาร์ทติดแล้วไฟต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องดับหมด ซึ่งถ้าดวงไหนยังไม่ดับแสดงว่า ระบบนั้นต้องมีปัญหา เช่น ไฟ ABS ถ้าติดอยู่แสดงว่าระบบ ABS มีปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งแน่ และอาจจะต้องเสียเงินค่าซ่อมเป็นเงินหลายตังค์แน่ๆ หรือถ้าไฟ AIR BAG ติดอยู่แสดงว่าระบบ ถุงลมนิรภัยมีปัญหาแน่ ส่วนในบางทีถ้าบิดสวิตช์กุญแจแล้วไฟสัญญาณบางดวงไม่โชว์ทั้งที่มีระบบนั้น ก็แสดงว่า มีการถอดหลอดออกเพื่อไม่ให้ไฟโชว์ แบบนี้ให้ระวังให้ดี และอีกอย่างสำหรับรถรุ่นใหม่ๆ ก็อย่าลืมตรวจกระจกไฟฟ้า สวิตช์ไฟระบบไฟส่องสว่าง ต่างๆ ว่าทำงานหรือไม่ ระบบเครื่องเสียงยังคงใช้ได้อยู่ไหมไม่ใช่มีไว้แค่ประดับรถให้เจ้าของที่จะซื้อเอาไว้ดูเล่น ตรวจเบาะนั่งทุกตัวต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ พร้อมทั้งดูอุปกรณ์อื่นๆ ประกอบด้วย [B] วิธีเลือกรถมือสอง[/B] รถยนต์มือสองเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้ที่ต้องการซื้อรถ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้แต่เนื่องจาก การ ซื้อรถมือสอง มีความเสี่ยงที่สูงว่าจะได้รถที่ดีจริงตามที่โฆษณาหรือไม่นั้น ทำให้หลายคนยอมที่จะซื้อรถป้ายแดงเพื่อ ความสบายใจ วันนี้ ผมจะมาแนะนำวิธีการเลือกซื้อรถมือสอง อย่างง่ายๆ เผื่อเวลาเพื่อนๆไปดูรถ จะได้พอจะ ดูได้ว่ารถคันนี้ดีจริงหรือไม่ครับ เริ่มแรก ในการซื้อรถ ผู้ซื้อรถ ควรจะกำหนดงบประมาณ และ รุ่นที่ตนเองต้องการไว้ก่อน จากนั้นเมื่อได้รุ่นที่ตนเองต้องการแล้ว ให้ไปดูรถที่เต็นท์รถก่อน ตรงนี้ผมไม่ได้แนะนำให้ซื้อที่เต็นท์นะครับ แต่เต็นท์รถ จะเป็นแหล่งความรู้พื้นฐานที่ดีสำหรับผู้ซื้อรถครับ สิ่งที่ผมต้องการให้ดูคือ เครื่องยนต์ ครับ เพราะโดยพื้นฐานแล้ว ผู้ซื้อรถส่วนใหญ่จะไม่ทราบว่า รถรุ่นไหน มีเครื่องยนต์รุ่นไหน ดังนั้นเวลาดูพยายามจำ เครื่องยนต์ ให้ได้ก่อนครับ เพื่อที่เวลาซื้อจริงๆ จะได้ไม่โดนรถที่เปลี่ยนเครื่องยนต์มา นอกจากนั้น ก็พยายามถามราคาและจำอุปกรณ์เสริมต่างๆด้วยก็ดีครับ ลองเปรียบเทียบสัก 2-3 คัน คุณก็จะได้ข้อมูลตรงส่วนนี้แล้วครับ ขั้นที่สอง เริ่มหารถที่ต้องการ โดยส่วนใหญ่แล้ว ราคารถบ้านจะถูกกว่ารถเต็นท์ แต่บางคันก็ไม่ใช่ เนื่องจาก ราคารถเต็นท์ มักจะอิงจากราคากลาง บวก กำไร แต่ราคารถบ้าน มักจะตั้งตามความต้องการของผู้ขาย ดังนั้นเวลาหารถ ให้พิจารณาราคาประกอบด้วยครับ พยายามหาจากหลายๆแหล่งเช่น จากเต็นท์รถ , หนังสือรถ หรือรถที่ประกาศขายตามเวบไซค์ต่างๆ ถึงตรงนี้คุณจะได้รถที่เป็นตัวเลือกไว้แล้วครับ ขั้นที่สาม ไปดูรถ เวลาไปดูรถ ถ้าเป็นคุณผู้หญิงแนะนำว่าไม่ควรไปเพียงคนเดียวครับ และสถานที่ดูนั้น ควรจะเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยด้วยนะครับ ส่วนวิธีการดูรถแบบง่ายๆ ก็มีขั้นตอนดังนี้ครับ [B]1. ดูเครื่องยนต์และอุปกรณ์เสริมต่างๆ[/B] เปรียบเทียบ กับข้อมูลที่คุณมีครับ ถ้าไม่ตรงกันก็ลองถามผู้ขายดู ถ้าไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนก็ไม่ควรซื้อครับ [B]2. รถบางคันก็จะติดเครื่องเสียงมาใหม่[/B] และมักจะอ้างราคาเครื่องเสียง เพื่อเพิ่มราคารถ ตรงนี้ต้องพิจารณาให้เองว่า คุ้มหรือเปล่า เช่น ติดมา 1 แสน จะมาบวก 1 แสนก็เกินไปครับ [B]3. ดูใต้ท้องรถครับ [/B]เช่น คัดซี มีการตัดต่อหรือเปล่า ยางหุ้มต่างๆ และรอยน้ำมันที่อาจจะรั่วหรือซึม ครับ ปกติ ใต้ท้องรถนี่อาจจะไม่ค่อยได้ดูกัน เพราะไม่สะดวก วิธีง่ายๆอีกอย่างคือ ดูสถานที่ที่รถจอดว่ามีรอยน้ำ หรือ น้ำมัน ที่พื้นหรือเปล่าครับ [B]4. ดูว่ารถเคยเกิดอุบัติเหตุมาหรือไม่[/B] วิธีดูก็ใช้หลักง่ายๆครับ คือ ดูที่ตะเข็บ ครับ รถที่ออกจากโรงงานรอยตะเข็บต่างๆจะดูเป็นระเบียบ แต่ถ้าชนมา และมีการซ่อม รอยตะเข็บจะดูไม่เรียบร้อย สามารถดูรูปประกอบได้ครับ [B]โดยบริเวณที่รถมักจะชนคือ[/B] ด้านหน้า เปิดฝากระโปง หน้า แล้วดูรอยตะเข็บ ตามแนว ขอบรถด้านข้าง ตามลักษณะการชนคือ 1. ชนมุม รอยตะเข็บที่มุม จะไม่เรียบร้อย 2. ชนตรงๆ รอยตะเข็บที่มุมทั้ง 2 ฝั่ง จะไม่เรียบร้อย 3. ชนด้านข้าง ให้ดูรอยตะเข็บด้านข้าง จะไม่เรียบร้อย 4. ถ้าชนหนักจนยุบมาถึงห้องเครื่อง ให้ดูรอยตะเข็บตามรูป จะไม่เรียบร้อย 5. ถ้าชนไม่แรง ให้สังเกตุกันชน จะไม่พอดีการโครงรถ เช่น มีช่องว่างเกิดขึ้น [B]ด้านหลัง[/B] เปิดกระโปงหลัง และเปิดผ้าคลุมขึ้น แล้วดูรอยตะเข็บที่เรียกว่า รอยแปรงปัด วิธีการดูการเหมือนกับด้านหน้า ทุกอย่าง แต่ถ้าชนหนัก ให้ดูที่รอยแปรงปัด ครับจะไม่เป็นระเบียบ ด้านข้าง ทั้ง 2 ฝั่ง เปิดประตูออก ให้หมด แล้วดูความเรียบร้อยของโครงสร้างครับ โดยปกติจะดูยากครับ เพราะจะไม่มีรอยตะเข็บให้ดู ถ้าไม่แรงมาก ความเสียหายมักจะไม่ถึงตัวโครงรถ จะเสียหายเพียงประตู สำหรับความคิดของผม ถือว่า ไม่เป็นเรื่องใหญ่ครับ แต่ถ้าต้องการดูก็ลองดูรอยตะเข็บบริเวณขอบประตูและตัวบานพับครับ หลังคา (เกิดจากการพลิกคว่ำ) เปิดประตูออกแล้วดูรอยตะเข็บ บริเวณ คานหน้ารถ เพราะปกติ ถ้ารถพลิกคว่ำแล้ว มักจะยุบบริเวณคานหน้ารถ [B]5. ทดลองขับครับ [/B]ส่วนที่ต้องดูคือ 1. ลองขับแล้วปล่อยพวงมาลัยดูว่ามีการกิน ซ้าย หรือ ขวา หรือเปล่า ถ้ามีลองเข้าศูนย์ ตรวจสอบดู เพราะอาจจะเกิดการชนแล้วทำให้ศูนย์เสียได้ 2. ดูว่าเครื่องมีปัญหาหรือเปล่า หลัก ง่ายๆ คือ ไม่ควรสั่น , เดินเรียบ และควันที่ออก ไม่ควรดำ (สำหรับรถดีเซล) หรือ ขาว (สำหรับรถเบนซิล) 3. สังเกตเกียร์ ถ้าเกียร์ Auto เวลาเปลี่ยนมีการกระตุก หรือเปล่า ส่วนเกียร์ ธรรมดา ให้ลองว่า เข้าเกียร์ยากหรือเปล่า 4. สังเกตระบบปรับอากาศว่า ใช้งานได้ดีหรือเปล่า 5. ระบบไฟต่างๆ เช่น ไฟเลี้ยว ไฟเบรก ไฟหน้า ไฟหลัง และไฟในห้องโดยสาร 6. เบาะนั่งทุกตัว โยก หรือเปล่า 7. เข็มขัดนิรภัย ยังใช้ได้หรือเปล่า โดยการดึงแรงๆ ถ้าดึงแล้วติด ถือว่าใช้ได้ [B]ขั้นสุดท้ายจ่ายเงิน โอนรถ [/B]ไม่ควรใช้วิธีโอนลอย คือ จ่ายเงิน แล้วก็จบ ไม่ไปโอนเปลี่ยนชื่อเจ้าของรถ สละเวลาเพียงครึ่งวัน หรือให้บริษัทที่รับโอนแทน จัดการ เพื่อความถูกต้องและไม่เกิดปัญหาทีหลังครับ [B]การเลือกซื้อรถมือสอง[/B] ท่านที่ต้องการซื้อรถมือสองหรือรถใหม่ก็แล้วแต่ ควรรู้ถึงความต้องการที่แท้จริงของตัวเองเสียก่อนว่าจะนำรถไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อะไรปัจจัยต่อไปที่เราจะพูดถึงก็คือ การพิจารณาในการเลือกซื้อรถมาใช้ ควรดูว่ารถที่เราจะขับเป็นรถยี่ห้ออะไร และมีศูนย์บริการหรือบริการหลังการขายอย่างไร อะไหล่มีราคาถูกหรือราคาแพงและหาได้ง่ายหรือไม่ เพราะรถมือสองอาจจะต้องมีการซ่อมหลังจากการซื้อมามากหน่อย ซึ่งถ้าเป็นรถทางค่ายยุโรปอาจจะมีปัญหาเรื่องการหาอะไหล่ราคาถูกได้ยาก หรืออาจจะต้องรออะไหล่นาน สิ่งเหล่านี้สามารถดูได้จากความนิยมในการใช้ทั่วๆ ไป ถ้ามีความนิยมใช้มากอะไหล่ก็จะหาได้ง่ายและมีราคาถูก ดูปีที่ผลิตรถว่ารถเก่าไปไหม หรือจะใช้ได้อีกนานหรือไม่ ดูว่าหากต้องการขายต่อ ยังพอได้ราคาอยู่หรือเปล่า ดูเลขกิโลเมตรกับปีรถว่าเหมาะสมกันหรือไม่ ซึ่งเรากำลังจะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ครับ [B]1. การตรวจเช็คสภาพภายนอกของรถยนต์[/B] คือ การดูตัวถังภายนอกและการดูสีของรถยนต์ การดูสีของรถยนต์ควรดูที่สว่างๆ แต่ไม่ใช่กลางแดดจัด ให้มีแสงพอสมควร เริ่มจาก 1.1 ยืนในต่ำแหน่งหน้ารถ แล้วนั่งลงมองในระดับฝากระโปรงหน้าทั้งด้านซ้าย และด้านขวาดูเส้นขอบตรงหน้ารถไปจรดท้ายที่เป็นเส้นตรงว่ารอยหรือเส้นขอบต่างๆ ผิดเพี้ยนหรือไม่ถ้าดูแล้วมีรอยยุบของเส้นขอบต่างๆ ที่ไม่ต่อเนื่องสันนิษฐานได้ว่ารถคันนี้ได้มีการทำสีมาแล้ว 1.2 เดินดูรอบรถโดยดูเส้นขอบของประตูเป็นแนวเดียวกันหรือไม่ มีรอยโค้ง รอยนูนหรือเว้าหรือไม่ 1.3 ดูช่องว่างระหว่างประตูแต่ละบานว่าเหมาะสมกันหรือไม่ 1.4 ดูตัวถังว่ามีการโป๊วสีมาหรือไม่ โดยการใช้นิ้วดีดหรือเคาะเพื่อทำการฟังเสียง โดยทำรอบๆ ตัวรถบริเวณที่มีเสียงทึบมีโอกาสเป็นไปได้ว่ารถได้มีการทำสีมาก่อน เสียงที่ดีต้องเป็นเสียงป็อกๆ ถือว่าใช้ได้ 1.5 ต่อไปให้ดูว่าผิวสีเรียบเป็นปรกติเหมือนกันทั้งคันหรือไม่ เพราะถ้าผิวสีที่มีรอยนูนหรือเว้า หรือลักษณะของสีที่แตกต่างกัน 1.6 ดูส่วนประกอบรอบๆ รถ เพื่อที่จะบอกได้ว่าเจ้าของเก่ามีการใช้รถเป็นอย่างไร [B]2. การดูภายในห้องเครื่องยนต์[/B] เปิดฝากระโปรงหน้าขึ้น เริ่มจาก 2.1 ดูที่คานหน้าหม้อน้ำ ทั้งด้านบนและล่าง รูน๊อตยึดต่างๆ กลมเป็นปรกติหรือไม่ 2.2 ดูสภาพของสีกลมกลืนทั้งห้องเครื่องยนต์หรือไม่ ถ้าสีเหมือนกันแต่พ่นใหม่อาจจะมีการยกเครื่องออกมา เพื่อทำการซ่อมตัวถังหรือซ่อมเครื่องยนต์ 2.3 ดูตะเข็บรอยต่อเป็นปรกติ เหมือนกันทั้ง 2 ข้าง 2.4 ดูซุ้มล้อหน้า ซ้าย,ขวา สังเกตสติ๊กเกอร์ NAME PLATE ว่ามีหรือไม่ สภาพเป็นปกติหรือเปล่า 2.5 ดูร่องน้ำไหล ทั้งซ้ายและขวา ง่ามีรอยบุบหรือคดบ้างหรือไม่ เพราะสิ่งเหล่านี้ จะบ่งบอกถึงการเกิดอุบัติเหตุหรือเพียงแค่ทำสีใหม่เท่านั้นควรดูให้ดี [B]3. การดูเครื่องยนต์ [/B] 3.1 คราบหรือร่องรอยของการรั่วซึมของน้ำมันเครื่อง 3.2 ตรวจสอบระดับน้ำมันเบรก, คลัทช์, น้ำมันพวงมาลัยเพาเวอร์ สีต้องเป็นปกติและสะอาด 3.3 ระดับน้ำยาหล่อเย็น จะต้องอยู่ในระดับที่กำหนด 3.4 ระดับน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ สีและกลิ่นของน้ำมัน 3.5 ระดับน้ำมันเครื่องจะต้องอยู่ในระดับที่กำหนด สีและกลิ่นต้องอยู่ในสภาพที่ดี 3.6 สภาพของสายพานต่างๆ จะต้องไม่แตกร้าว ความตึงพอเหมาะ 3.7 ตรวจหม้อน้ำ,ฝาปิดหม้อน้ำ จะต้องไม่รั้วและมีน้ำอยู่ในระดับที่พอเหมาะ 3.8 สภาพของสายไฟในห้องเครื่องยนต์ จะต้องจัดเก็บเรียบร้อย 3.9 แบตเตอร์รี่จะต้องไม่บวม ขั้วแบตเตอร์รี่สภาพดี และดูอายุของแบตเตอร์รี่,สภาพของน้ำกลั่น 3.10 ติดเครื่องฟังเสียงของเครื่องยนต์ว่าผิดปกติหรือไม่ และจะติดเครื่องได้โดยง่าย 3.11 เมื่อเครื่องยนต์ติดแล้วสังเกตเสียงว่าผิดปกติหรือไม่ เครื่องยนต์เดินเรียบหรือเปล่า 3.12 ตรวจการรั่วของกำลังอัด ดูไอน้ำมันเครื่อง โดยดึงก้านวัดน้ำมันขึ้นมาดูว่ามีควันหรือกลิ่นไหม้ ถ้าไม่มีถือว่าใชได้ และจะต้องไม่มีแรงดัน ดันออกมาทางด้านก้านวัดน้ำมันด้วย 3.13 เดินไปท้ายรถสังเกตควันที่ออกจากท่อไอเสีย จะต้องไม่ขาวและดำ ถ้าผิดปกติแสดงว่าเครื่องยนต์ทำงานบกพร่อง อาจจะต้องมีการทำเครื่องยนต์ใหม่ [B] 4. การดูห้องโดยสาร [/B] 4.1 แผงหน้าปัทม์ ดูไฟเตือนต่างๆ ขณะเปิดสวิทซ์กุญแจ ต่อจากนั้นสตาร์ทเครื่อง ไฟเตือนต่างๆ จะต้องดับลง 4.2 ระบบเครื่องเสียงใช้งานได้ตามปกติหรือไม่ 4.3 ระบบปรับอากาศ อุณหภูมิของลม การปรับตั้ง Mode, Fan, Temperature ทำงานได้ดีหรือเปล่า 4.4 ไฟส่องสว่างภายในรถ เช็คสัญญาณไฟเลี้ยว, ไฟสูง ว่าติดที่หน้าปัดหรือไม่ขณะทำการเปิด 4.5 กระจกหน้าต่างทุกบานปิดสนิทหรือไม่ 4.6 เบาะนั่งอยู่ในสภาพใช้งานได้เป็นปกติสามารถทำการปรับตั้งได้หรือไม่ *โดยรวมสภาพของห้องโดยสาร จะต้องสัมพันธ์กับอายุของรถ เลขกิโลเมตรร่าเหมาะสมกันหรือไม่ [B]5. ดูห้องเก็บสัมภาระท้ายรถ [/B]การดูคล้ายๆ กับห้องเครื่องยนต์ 5.1 รอยตะเข็บต่างๆ ,รอยเชื่อม,รอยบัดกรี จะต้องไม่ผิดเพี้ยนจากจุดใกล้เคียง 5.2 ร่องรอยการทำสี ว่ามีสีที่ดูใหม่กว่าจุดอื่นหรือไม่ 5.3 รางน้ำฝากระโปรง ต้องไม่เสียรูป 5.4 ถ้าเป็นรถเก๋งควรเปิดพรมท้ายรถดูว่ามี เครื่องมือ, ยางอะไหล่อยู่หรือเปล่า และตรวจดูว่ามีน้ำขังอยู่หรือไม่ ถ้ามีอาจเกิดจากการรั่วของรอยตะเข็บบริเวณรางน้ำของฝากระโปรงท้ายได้ [B]6. ตรวจสอบช่วงล่าง [/B]โดยรถยนต์กับที่ 6.1 กดรถทางด้านหน้าและหลัง เพื่อดูการทำงานของโช๊คอัพจะต้องไม่แข็งและเด้งเร็วเกินไป และดูว่ามีคราบน้ำมันจำนวนมากที่บริเวณโช๊คอัพหรือไม่ ถ้ามีแสดงว่าน่าจะชำรุด 6.2 ดูยางทั้ง 4 เส้นว่าสภาพของดอกยางมีการสึกหรอสม่ำเสมอหรือไม่ ถ้าไม่สม่ำเสมอแสดงว่าช่วงล่างและศุนย์ล้อน่าจะมีปัญหาสังเกตยางมีการปริแตกหรือฉีกขาดหรือเปล่า ยางยี่ห้อเดียวกันและรุ่นเดียวกันทั้งหมดหรือไม่ เพราะยางแต่ละยี่ห้อ แต่ละรุ่น จะมีการออกแบบมาใช้งาน และการบรรทุกจะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับการผลิตของยางยี่ห้อนั้นๆ ถ้าใช้ยางผิดประเภทจะทำให้เกิดอันตรายได้ 6.3 ระยะฟรีพวงมาลัยจะต้องมีเล็กน้อย ถ้ามากเกินไปเป็นไปได้ว่า ลูกหมากจะมีปัญหา 6.4 ถ้าสามารถทำการตรวจสอบใต้ท้องรถได้ ให้ดูว่ามีการผุกร่อนของตัวถังบริเวณใต้ท้องหรือไม่ แซสซีส์ต้องตรงไม่การ บิดเบี้ยว ผุ หรือทีรอยเชื่อมที่เกิดจากการหักของแซสซีส์ [B] 7. การทดสอบโดยการขับขี่[/B] ถ้าเป็นไปได้ให้เลือกขับตามสภาพถนนหลายๆ แบบ 7.1 ทดสอบระบบรองรับว่าทำงานได้ดีหรือไม่ เช่นโช๊คอัพ, สปริง, แหนบ ขณะทำการวิ่งทดสอบว่ามีเสียงดังเกิดจากช่วงล่างหรือไม 7.2 ขณะทำการเร่งเครื่องยนต์ มีเสียงดังเกิดขึ้นผิดปรกติหรือไม่ 7.3 ขณะรถวิ่งมีเสียงเข้ามาในห้องโดยสารมากน้อยเพียงใด 7.4 เวลาวิ่งด้วยความเร็วสูงรถควรมีการเกาะถนนที่ดีพอ และจะต้องไม่มีอาการส่ายหรือโครงไปมา 7.5 ทดลองเลี้ยวซ้ายและขวาดูว่า ช่วงล่างเกิดเสียงดังหรือไม่ 7.6 การทำงานของเบรกระบบ ABS ทำงานเป็นปกติหรือไม่ โดยทำงานของเบรก ABS ขณะเบรกแบบกะทันหันจะมีการเคลื่อนตัวขึ้นลงแป้นเบรกเป็นระยะ ในขณะที่ไม่ได้ถอนเท้าออกจากแป้นเบรก ถ้ามีแสดงว่าเป็นปกติ 7.7 ทดสอบศูนย์ขณะรถวิ่ง ว่าดึงไปมาข้างใดข้างหนึ่งหรือไม่ และพวงมาลัยตรงพอดีหรือไม่ 7.8 การตัดต่อของคอมเพรสเซอร์แอร์ขณะขับขี่มีเสียงดังเป็นปกติหรือไม่ หากมีเสียงดังเกินไปอาจเกิดจากลูกปืนคลัทช์หน้าคอมเพรสเซอร์แอร์ชำรุด 7.9 หลังจากขับทดสอบแล้วให้ติดเครื่องทิ้งไว้สักครู่ เพื่อดูความผิดปกติอีกครั้ง [B] 8. การดูเอกสารเล่มทะเบียนรถยนต์[/B] เราจะรู้ประวัติของรถยนต์เบื้องต้นได้โดยการตรวจสอบดูจากเล่มทะเบียนรถยนต์ จะทำให้ทราบว่ารถคันนี้ผ่านการใช้งานมาแล้วกี่ราย มีการเปลี่ยนเครื่องยนต์และสีของรถยนต์หรือเปล่า ควรเลือกซื้อรถที่ผ่านการใช้งานมามือเดียว หรือจากเจ้าของคนเดียว จะช่วยให้เราสามารถซักถามประวัติการใช้รถได้ เอกสารที่ควรใส่ใจมากที่สุด คือสมุดจดทะเบียนไม่ควรมีการแก้ไขโดยไม่มีลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ขนส่งกำกับ หากสมุดจดทะเบียนมีข้อน่าสงสัยไม่ควรทำการซื้อขายรถคันดังกล่าว แต่พอจะสรุปสุดท้ายก็คงต้องดูที่ราคาว่าเหมาะสมกับรถไหม เพราะการซื้อรถมือสองก็ต้องดูตามสภาพความเป็นจริงว่าสภาพรถขนาดนี้ ราคาก็น่าจะอยู่ประมาณนี้ เพราะถ้าจะเอารถมือสองคุณภาพเทียบเท่ารถใหม่ จะให้ราคาถูกก็คงหาได้ยากหรือหาไม่ได้เลย เพราะฉะนั้นควรระลึกไว้ด้วยว่าของถูกและดีไม่มีในโลก ควรเลือกแบบที่เหมาะสมกับราคาตามสภาพรถ และวัตถุประสงค์ของการใช้งานครับ [B]วิธีการเลือกซื้อรถมือสอง [/B] [B]การซื้อรถบ้านใช้แล้ว[/B] หรือรถมือสองนั้น ถ้าเรามีความละเอียดรอบคอบเพียงพอในการเลือกซื้อ ไตร่ตรองถี่ถ้วนก่อนการตัดสินใจซื้อ ก็จะทำให้เรามีความมั่นใจมากขึ้นว่าซื้อแล้วได้ใช้งานคุ้มค่า ผมเองก็เป็นอีกคนที่เลือกใช้รถมือสอง อาจเป็นเพราะสตางค์ในกระเป๋ามีจำกัด อีกทั้งไม่อยากเป็นภาระมานั่งผ่อน ทุกเดือน รถที่ผมใช้ก็ ถือได้ว่าตอบสนองเราได้เป็นอย่างดีเพียงแต่เราดูแลบำรุงรักษารถให้ดี ก็ใช้ไปได้อีกนาน ขนาดที่คิดได้ว่าจะไม่ยอมขายจะใช้ให้พังคามือเลย เป็นธรรมดา สำหรับรถดี ๆ ไม่จุกจิกกวนใจ กวนเงินในกระเป๋าเรา ทีนี้เรามาดูว่ารถมือสอง ที่เราจะซื้อมีวิธีการเลือก คร่าว ๆ อย่างไร ผมเองต้องขอออกตัวก่อนว่าไม่ใช่เซียนรถหรือพ่อค้ารถ ที่เก่งกาจในการดูรถ เพียงแต่รุ่นพี่ ๆ อาจารย์หลายท่านแนะนำ สอนให้ดู ก็พอเอาตัวรอดได้ พอแนะนำเป็นแนวทางได้บ้าง ขอย้ำ ได้บ้างเท่านั้นนะครับ โดยผมจะแยกเป็นหัวข้อ ๆ เพื่อให้ง่ายในการจดจำครับ [B]1. ดูตัวถัง body [/B] รถสวยไม่สวยดูภายนอกรอบคัน ก็พอบอกได้ แต่จะดูให้ถึงว่าเคยชนมาหนัก ๆ มั๊ย ก็ต้อง - เปิดฝากระโปรงหน้ามาดูคานหน้า คานรถทุกคันจะมีรู กลมบ้าง เหลี่ยมบางแล้วแต่ ถ้ารูเบี้ยว ไม่คมก็แสดงว่ามีโดนมา - ป้ายทะเบียนรถยับมีรอยดัด ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนเลยว่าเคยโดนมา แผ่น plate ที่แปะติดคานมา มีรอยยับหรือดัดมาก็เช่นกัน - สันด้านข้างตะเข็บความนูนเสมอกันหรือไม่ รอยอ๊าค จากโรงงานกับอู่เคาะพ่นสีก็ต่างกัน - สำหรับด้านหลัง ก็เปิดฝากระโปรงดูเช่นกัน ไฟท้ายทั้ง 2 ดวงเสมอเบ้าหรือไม่ รอยแยกต่อชิ้นเว้นช่องไฟเท่ากันเปล่ามีเบี้ยวมีเกยกันมั๊ย คานหลังก็ใช้ลักษณะการสังเกตุเหมือนคานหน้าเพียงแต่ต้องลื้อพรมปูท้ายรถออกเพื่อให้เห็นพื้น - พื้นรถด้านหลังโดยมากจะเป็นรอน ๆ ก็สังเกตุดูว่าเท่ากันหรือเปล่า รถบางคันโดนชนหลังมาช่างเคาะทำดีมากดูแทบไม่ออก มาเสียอีตอนน้ำเข้าตรงไฟท้ายเข้าได้แต่ออกไม่ได้ซะด้วยสิ ต้องเช็ด มีบางคันเศษกระจกหลังยังอยู่ให้เห็นเลยครับ - ส่วนด้านข้าง ก็ดูเทียบสี จากโรงงานสีเดิม กับอู่สี สีจะเพี้ยนนิดหน่อยแต่ก็พอเห็น ผมใช้วิธีเคาะ ด้วยมะเหง็กของเรานี่แหละ เคาะรอบคันเลยรถ ที่ทำสีมาแล้วเสียงจะทึบ ๆ หน่อย ชิ้นที่สีเดิมจะมีเสียงโปร่ง ๆ หน่อยฟังดีดี จะรู้ถึงความต่าง อันนี้ไม่ยาก - รถที่เคยหงายตะแคงล้อชี้ฟ้า ก็ดูหลังคารถเคาะ ๆ ดู สังเกตุขอบคิ้วกระจกหน้าหลัง เหมือนกันเปล่ามีรอยแตกของสีโป๊วมั๊ย หลังคาสีสดสวยกว่าประตูข้าง ก็เป็นเรื่องน่าแปลกเพราะเป็นส่วนที่รับแดดเต็ม ๆ แต่ช่างเคาะ ช่างสีบ้านเราฝีมือดีมาก ทำได้เนียนเซียนในเต็นท์ยังมองไม่ออก ฝรั่งยกนิ้วให้ 2 นิ้ว งานฝีมืองานประณีตคนไทยเก่งกาจม๊าก มาก ขอบอกครับ [B]2. เครื่อง + ช่วงล่าง + เกียร์ [/B] - เครื่อง ถ้าเครื่องมีปัญหา หรือ หลวม จะเป็นอย่างนี้ เสียงดัง ไม่นิ่งรอบสูงบ้างต่ำบ้าง ไม่น่าเชื่อถือ เกี่ยวกันเปล่าหว่า เวลาเครื่องร้อนเรา ก็ดูก้านวัดระดับน้ำมันเครื่องออกมา จะมีควันพุ่งออกมา หรือ น้ำมันเครื่องจะกระเซ็นกระสายเป็นละอองออกมาเอามือไปอัง ๆ ดูก็ได้ไม่ร้อนเท่าไหร่หรอกน่า เชื่อเถอะ - เกียร์ ชุดส่งกำลัง คลัชต์ ถ้าเข้าเกียร์ ออกตัวแล้วสั่น แหงก ๆ กระตุก ๆ เข้าเกียร์ก็ยาก นั่นแหละมีปัญหา วิ่งๆ ไปมีเสียงประสาน หอนแหวกอากาศมาเข้าหูเรา เวลาเข้าเกียร์ว่าง รถจอดนิ่งๆ ไม่ยักกะดังก็นั่นแหละ เกียร์ไปแล้วไปไหนไม่รู้ ไปหาช่างมั้ง เกียร์ auto ก่อนเข้าเกียร์เหยียบเบรคคาไว้ เข้าเกียร์ตำแหน่ง D ไม่กระตุกกระชากก็พอได้เปราะหนึ่ง เข้าตำแหน่งเดิม N แล้วไป R ก็ไม่มีอาการอะไรก็แสดงว่าผ่านไปได้แล้ว 70 % มาลองวิ่งดูว่าเกียร์ทำงานทุกเกียร์เปล่า ไม่ใช่เปลี่ยนแค่ 2 เกียร์อันนี้เสร็จแน่ ออกตัวก็เช่นกัน ออกตัวดีมั๊ย ถ้าต้องรอสักพักถึงเคลื่อนตัวได้แสดงว่ามันจะแย่อยู่นะ - ช่วงล่าง ผม test ไม่เหมือนชาวบ้านเขาหลอก เวลาขับไปเจอฝาท่อ เจอถนนคอนกรีตที่กร่อน มีหลุม บ่อเล็กๆ นั่นแหละชอบลุยเข้าไปเลย เดี๋ยวเสียงกรุ กระ จะปรากฏถ้าไม่แน่น หรือ อาจสะท้านมาถึงพวงมาลัยเลยก็มีแต่อย่าเร็วมากนะอาจเสียงตอนที่เรา test ก็ได้นะเคยมาแล้ว ขอบอกครับ ต่อไปเป็นเบรค และ สภาพยาง บางท่านไม่สนใจเพราะซื้อปุ๊บ เข้าร้านเปลี่ยนของใหม่เลย แบบว่าปลอดภัยไว้ก่อนว่างั้นก็ ok ชัวร์ดี ชีวิตเรานะอย่างว่า ประมาทได้ที่ไหน ได้ไม่คุ้มเสียเลย ผมเคย เสียหายมาก เพราะมัวแต่ผลัดวันประกันพรุ่ง นั่นเอง [B]3. ภายในห้องโดยสาร [/B] - กลิ่น ถ้าเปิดรถปุ๊บ สิ่งแรกที่กระทบจมูกโด่ง ๆ ของเราคือกลิ่นอับ ๆ ชื้น ๆ แสดงว่าน้ำเข้ารถ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ยิ่งอัดฉีดมานะ ฮึ่ม ง่ายต่อการดูมากเลย เอายางปูพื้นออก ดูว่าพื้นพรมมีรอยชื้นของน้ำเปล่า บางคันพื้นผุแบบทะลุง่ะ เปิดมานี้ เห็นพื้น ถนนเลย ดูหมดนะทั้ง 4 จุด พื้นผุนี่อันตรายนะ ขับๆ อยู่ตัวหล่นพรั้ว ไปนั่งอยู่กับพื้นถนนละยุ่ง (ล้อเล่นไม่ขนาดนั้นหรอก) - ดูความเรียบร้อย คอนโซล แตกมั๊ย แต่ว่าไม่ได้ พลาสติกน่ะ รถเก่ามาก ๆ ไม่แตกอย่างเดียวมันเหมือนจะละลายเลยเคยเห็นมาแล้ว ช่องแอร์สมบูรณ์เปล่า ซ่อมยากนะช่องแอร์เนี่ย เก่ามาก ๆ ไม่มีอะไหล่เน้อ จะบอกให้ เจ้าของเก่าจะอ้างว่าลูกซนชอบเล่นช่องแอร์ เออมันก็จริงทำไมเด็ก ๆ ชอบเล่นจังไม่รู้ - แอร์ ดูอย่างนี้นะ เอ้าดู เปิดแอร์ เบอร์ 1-4 เลยมันไล่ระดับความแรงหรือเปล่า แรงลมสำคัญจะบอกได้ว่าตันหรือเปล่า ล้างแอร์สมัยนี้แพงด้วยนะหลายร้อย พันกว่าก็มีแบบไม่ถอดตู้ เปิดทิ้งไว้แล้วออกไปเดินดูรอบ ๆ รถ 5-6 ชั่วโมง ไม่ใช่ 5นาทีพอ แล้วเดินเข้าไปในรถก็จะรู้ว่าฉ่ำ หรือ ไม่ฉ่ำ มีเสียงอะไรดังผิดปรกติหรือเปล่าแอร์ตัดตามปกติมั๊ย ก็เท่านั้น ปัจจุบันค่อยสะดวก และสบายใจได้ เพราะมีรุ่นน้องผมเปิดเต็นท์รถ ตอนนี้ใครจะซื้อรถผมก็จะแนะนำให้ซื้อที่นี่ เพราะคุยง่าย ไว้ใจได้ ราคาคุยกันได้สะดวกใจหน่อย [B]พี่น้องท่านใดสนใจจะซื้อรถมือสอง ต้องการรุ่นไหน ไม่ว่าจะเป็นรถบ้านใช้งาน รถยุโรป หรือรถแต่ง ไม่เสียเวลาโทรมาคุยกันได้เลยครับ 084-1000068 ดุ๊กครับ[/B][/SIZE] [img]http://www.bkkcar.com/article/pic/m17.jpg[/img] [img]http://www.lighthousecarcentre.co.uk/graphics/used_cars_selector.jpg[/img][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
รถมือ 2 เรื่อนไมล์ สูงๆ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...