เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
Primera & Presea Club
>
ก็อบมาจาก Racing Forum (ขออนุญาติคุณ prototype01 ด้วยนะคับ)
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="whitebear, post: 1157953, member: 34884"]<font size="3"><span style="color: Yellow"><b>เดือน สิงหาคม เตรียมตัวเตรียมใจรถติดยาว ควรออกเดินทางเร็วกว่าเดิม และหลีกเลี่ยงเส้นทางเหล่านี้ หรือสอบถามเส้นทางจาก จส.100 ก่อนออกเดินทาง </b></span></font><img src="styles/default/xenforo/clear.png" class="mceSmilieSprite mceSmilie6" alt=":cool:" unselectable="on" unselectable="on" /><img src="styles/default/xenforo/clear.png" class="mceSmilieSprite mceSmilie6" alt=":cool:" unselectable="on" unselectable="on" /></p><p><br /></p><p><font size="3"><b><span style="color: Red"><u>ข่าวประชาสัมพันธ์</u></span></b></font></p><p><br /></p><p><font size="3">พล.ต.ต.ภานุ เกิดลาภผล รอง ผบช.น.ผู้รับผิดชอบงานด้านการจราจร ตำรวจนครบาล แจ้งเตือนประชาชนโปรดหลีกเลี่ยงเส้นทาง 13 สะพานข้ามแยกทั่วกรุงเทพมหานคร ในชั่วโมงเร่งด่วน เช้า - เย็น เนื่องจากจะมีการ “ปรับปรุงพื้นผิวจราจร - ทุบทิ้งสร้างใหม่” มีกำหนดเริ่มเดือนสิงหาคม 2552 นี้ </font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">หลังจากที่กรุงเทพมหานครได้ตรวจสอบและประเมินสภาพโครงสร้างของสะพานเหล็ก ข้ามทางแยกทั่วกรุงเทพฯ จำนวน 13 แห่ง โดยเป็นสะพานที่ใช้งานมานานในช่วง 10-15 ปีที่ผ่านมา ในส่วนผู้ใช้รถใช้ถนนที่พบเห็นโดยตรงคือพื้นผิวการจราจรกะเทาะ เห็นแผ่นเหล็กเป็นจุดๆ และในจุดที่เป็นรอยต่อสะพานที่ผิวคอนกรีตและวัสดุหลุดล่อนขรุขระ ราวสะพานหลุดขาด หรือบิดเบี้ยวผิดรูปจากการเกิดอุบัติเหตุแล้ว สิ่งสำคัญที่เป็นความเสียหายรุนแรงที่ผู้ใช้รถใช้ถนนมองไม่เห็นแต่ส่งผลต่อ ความปลอดภัยมากที่สุดคือในส่วนของโครงสร้างสะพาน ซึ่งผลการตรวจสอบพบว่าต้องทำการซ่อมแซมบูรณะ เพราะสะพานมีความเสียหายและเสื่อมสภาพ </font></p><p><font size="3"> </font></p><p><font size="3">โดยเฉพาะสะพานข้ามแยกอโศก-เพชรบุรีเป็นสะพานที่มีความเสียหายรุนแรงมากที่ สุด ตัวโครงสร้างเกิดสนิมกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ โครงสร้างผุกร่อนและเสียรูป ซึ่ง กทม.จะต้องรื้อทิ้ง ก่อสร้างสะพานใหม่ทดแทนของเดิม ส่วนสะพานอื่นๆ เช่น สะพานข้ามแยกพระราม 9-รามคำแหง มีการชำรุดของน็อตยึดโครงสร้างหลวม หลุดขาด เสี่ยงต่อความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้าง </font></p><p><font size="3">สะพานข้ามแยกประชานุกูลพบยางรองคานสะพานเสื่อมสภาพ น็อตยึดแผ่นยางหลุดเอียงเสียรูป ขอบเหล็กรองรับแผ่นยางเป็นสนิม แตกร้าว </font></p><p><font size="3">สะพานข้ามแยกวงศ์สว่าง โครงสร้างคอนกรีตเสื่อมสภาพ กะเทาะหลุดล่อน เหล็กเสริมเป็นสนิม</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">ทั้งนี้ จะมีสะพานที่ต้องดำเนินการซ่อมแซมปรับปรุงในโครงการนี้ 12 แห่ง ซึ่งสำนักการโยธา กทม.ได้หารือร่วมกับฝ่ายจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) สน.ที่เกี่ยวข้อง และบก.จร. เพื่อพิจารณาแผนการดำเนินการเพื่อลดผลกระทบการจราจร โดยจัดแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามพื้นที่ใกล้เคียงและถนนที่ต่อเนื่องในเส้นทาง คือ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b><span style="color: red"><u>กลุ่ม 1 อยู่ในแนวถนนรัชดาภิเษก ถนนพหลโยธินที่เป็นเส้นทางหลักมีปริมาณการจราจรจำนวนมาก ประกอบด้วย </u></span></b></font></p><p><font size="3">สะพานข้ามแยกประชานุกูล ปิดการจราจรบนสะพานต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน </font></p><p><font size="3">สะพานวงศ์สว่าง ฝั่งละ 45 วัน </font></p><p><font size="3">สะพานเกษตร ปิดการจราจรต่อเนื่อง 15 วัน </font></p><p><font size="3">สะพานรัชโยธิน ฝั่งละ 15 วัน</font></p><p><font size="3">และ สะพานพงษ์เพชร ฝั่งละ 45 วัน</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b><u><span style="color: red">กลุ่มที่ 2 อยู่บนถนนจรัญสนิทวงศ์ในแนวรัชดาภิเษกเช่นกัน แต่เป็นพื้นที่ของฝั่งธนฯ ได้แก่ </span></u></b></font></p><p><font size="3">สะพานท่าพระ ปิดการจราจรต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน </font></p><p><font size="3">และสะพานบางพลัด ฝั่งละ 45 วัน</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b><u><span style="color: red">กลุ่มที่ 3 ในเส้นทางถนนพระราม 9 และถนนเพชรบุรี เป็นกลุ่มสะพานในพื้นที่กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก ประกอบด้วย</span></u></b></font></p><p><font size="3">สะพานข้ามแยกคลองตัน ปิดการจราจรต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน</font></p><p><font size="3">ส่วนสะพานพระราม 9 - รามคำแหง และ สะพานพระราม 9 - อสมท เบื้องต้นไม่มีการปิดการจราจร</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3"><b><u><span style="color: red">กลุ่มที่ 4 เป็นสะพานอิสระที่อยู่ห่างจากกลุ่มอื่น ประกอบด้วย </span></u></b></font></p><p><font size="3">สะพานสามเหลี่ยมดินแดง ปิดการจราจรต่อเนื่อง 30 วัน </font></p><p><font size="3">และสะพานพระรามที่ 4 (ไทย-ญี่ปุ่น) ปิดการจราจรฝั่งละ 45 วัน</font></p><p><font size="3">โดยขณะนี้ผู้รับเหมาได้เริ่มเข้าพื้นที่ สร้างนั่งร้าน เคลียร์พื้นที่ด้านล่าง รอวันพร้อมที่จะปิดสะพาน ห้ามใช้ต้นเดือน ส.ค. ทั้งนี้ทางสำนักการโยธา ได้กำหนดแนวทางการทำงานของผู้รับเหมา โดยระหว่างที่ปิดการจราจรบนสะพานห้ามปิดการจราจรบนถนนด้านล่างเด็ดขาด ทำให้ต้องวางแผนอย่างรอบคอบ</font></p><p><font size="3"><br /></font></p><p><font size="3">พล.ต.ต.ภาณุ เกิดลาภผล รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ดูแลงานจราจร กล่าวว่า การปรับปรุงโครงสร้างสะพานครั้งนี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาการจราจรอย่างแน่นอน เนื่องจากในการดำเนินการซ่อม ทางบริษัทที่ปรึกษาแจ้งว่าจะต้องปิดการจราจรต่อเนื่อง เพราะเป็นการซ่อมตัวโครงสร้างที่ไม่สามารถปิดการจราจรเพื่อให้ทำงานใน ตอนกลางคืนแล้วคืนผิวจราจรในตอนกลางวันเหมือนกับการก่อสร้างทั่วๆ ไป ซึ่งทุกจุดเป็นเส้นทางที่มีรถใช้เป็นประจำอยู่แล้ว กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ สะพานประชานุกูล สะพานวงศ์สว่าง ที่เป็นแนวเส้นทางวงแหวนรัชดาฯ ที่มีปริมาณรถใช้จำนวนมาก ได้ให้คำแนะนำกับบริษัทที่ปรึกษาว่า ไม่ควรปิดซ่อมสะพานประชานุกูล สะพานวงศ์สว่าง และสะพานพงษ์เพชรพร้อมกัน และอีกพื้นที่หนึ่งคือย่านมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ห้ามปิดสะพานเกษตรและสะพานรัชโยธินพร้อมกัน นอกจากนี้สะพานสามเหลี่ยมดินแดงก็เป็นอีกจุดที่สำคัญ เป็นเส้นทางรับรถเข้าสู่กลางเมืองที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และเป็นสะพานแบบเดินทางทางเดียวซึ่งมีปริมาณจราจรหนาแน่น สิ่งที่ทำได้คือการเร่งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบก่อนที่จะมีการปิด สะพาน เพื่อให้ผู้ใช้รถได้วางแผนการเดินทางและหาเส้นทางเลี่ยง ต้องร่วมมือกันทั้งในส่วนของหน่วยงานและประชาชน</font>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="whitebear, post: 1157953, member: 34884"][SIZE=3][COLOR=Yellow][B]เดือน สิงหาคม เตรียมตัวเตรียมใจรถติดยาว ควรออกเดินทางเร็วกว่าเดิม และหลีกเลี่ยงเส้นทางเหล่านี้ หรือสอบถามเส้นทางจาก จส.100 ก่อนออกเดินทาง [/B][/COLOR][/SIZE]:cool::cool: [SIZE=3][B][COLOR=Red][U]ข่าวประชาสัมพันธ์[/U][/COLOR][/B][/SIZE] [SIZE=3]พล.ต.ต.ภานุ เกิดลาภผล รอง ผบช.น.ผู้รับผิดชอบงานด้านการจราจร ตำรวจนครบาล แจ้งเตือนประชาชนโปรดหลีกเลี่ยงเส้นทาง 13 สะพานข้ามแยกทั่วกรุงเทพมหานคร ในชั่วโมงเร่งด่วน เช้า - เย็น เนื่องจากจะมีการ “ปรับปรุงพื้นผิวจราจร - ทุบทิ้งสร้างใหม่” มีกำหนดเริ่มเดือนสิงหาคม 2552 นี้ หลังจากที่กรุงเทพมหานครได้ตรวจสอบและประเมินสภาพโครงสร้างของสะพานเหล็ก ข้ามทางแยกทั่วกรุงเทพฯ จำนวน 13 แห่ง โดยเป็นสะพานที่ใช้งานมานานในช่วง 10-15 ปีที่ผ่านมา ในส่วนผู้ใช้รถใช้ถนนที่พบเห็นโดยตรงคือพื้นผิวการจราจรกะเทาะ เห็นแผ่นเหล็กเป็นจุดๆ และในจุดที่เป็นรอยต่อสะพานที่ผิวคอนกรีตและวัสดุหลุดล่อนขรุขระ ราวสะพานหลุดขาด หรือบิดเบี้ยวผิดรูปจากการเกิดอุบัติเหตุแล้ว สิ่งสำคัญที่เป็นความเสียหายรุนแรงที่ผู้ใช้รถใช้ถนนมองไม่เห็นแต่ส่งผลต่อ ความปลอดภัยมากที่สุดคือในส่วนของโครงสร้างสะพาน ซึ่งผลการตรวจสอบพบว่าต้องทำการซ่อมแซมบูรณะ เพราะสะพานมีความเสียหายและเสื่อมสภาพ โดยเฉพาะสะพานข้ามแยกอโศก-เพชรบุรีเป็นสะพานที่มีความเสียหายรุนแรงมากที่ สุด ตัวโครงสร้างเกิดสนิมกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ โครงสร้างผุกร่อนและเสียรูป ซึ่ง กทม.จะต้องรื้อทิ้ง ก่อสร้างสะพานใหม่ทดแทนของเดิม ส่วนสะพานอื่นๆ เช่น สะพานข้ามแยกพระราม 9-รามคำแหง มีการชำรุดของน็อตยึดโครงสร้างหลวม หลุดขาด เสี่ยงต่อความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้าง สะพานข้ามแยกประชานุกูลพบยางรองคานสะพานเสื่อมสภาพ น็อตยึดแผ่นยางหลุดเอียงเสียรูป ขอบเหล็กรองรับแผ่นยางเป็นสนิม แตกร้าว สะพานข้ามแยกวงศ์สว่าง โครงสร้างคอนกรีตเสื่อมสภาพ กะเทาะหลุดล่อน เหล็กเสริมเป็นสนิม ทั้งนี้ จะมีสะพานที่ต้องดำเนินการซ่อมแซมปรับปรุงในโครงการนี้ 12 แห่ง ซึ่งสำนักการโยธา กทม.ได้หารือร่วมกับฝ่ายจราจร กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) สน.ที่เกี่ยวข้อง และบก.จร. เพื่อพิจารณาแผนการดำเนินการเพื่อลดผลกระทบการจราจร โดยจัดแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามพื้นที่ใกล้เคียงและถนนที่ต่อเนื่องในเส้นทาง คือ [B][COLOR=red][U]กลุ่ม 1 อยู่ในแนวถนนรัชดาภิเษก ถนนพหลโยธินที่เป็นเส้นทางหลักมีปริมาณการจราจรจำนวนมาก ประกอบด้วย [/U][/COLOR][/B] สะพานข้ามแยกประชานุกูล ปิดการจราจรบนสะพานต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน สะพานวงศ์สว่าง ฝั่งละ 45 วัน สะพานเกษตร ปิดการจราจรต่อเนื่อง 15 วัน สะพานรัชโยธิน ฝั่งละ 15 วัน และ สะพานพงษ์เพชร ฝั่งละ 45 วัน [B][U][COLOR=red]กลุ่มที่ 2 อยู่บนถนนจรัญสนิทวงศ์ในแนวรัชดาภิเษกเช่นกัน แต่เป็นพื้นที่ของฝั่งธนฯ ได้แก่ [/COLOR][/U][/B] สะพานท่าพระ ปิดการจราจรต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน และสะพานบางพลัด ฝั่งละ 45 วัน [B][U][COLOR=red]กลุ่มที่ 3 ในเส้นทางถนนพระราม 9 และถนนเพชรบุรี เป็นกลุ่มสะพานในพื้นที่กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก ประกอบด้วย[/COLOR][/U][/B] สะพานข้ามแยกคลองตัน ปิดการจราจรต่อเนื่องฝั่งละ 45 วัน ส่วนสะพานพระราม 9 - รามคำแหง และ สะพานพระราม 9 - อสมท เบื้องต้นไม่มีการปิดการจราจร [B][U][COLOR=red]กลุ่มที่ 4 เป็นสะพานอิสระที่อยู่ห่างจากกลุ่มอื่น ประกอบด้วย [/COLOR][/U][/B] สะพานสามเหลี่ยมดินแดง ปิดการจราจรต่อเนื่อง 30 วัน และสะพานพระรามที่ 4 (ไทย-ญี่ปุ่น) ปิดการจราจรฝั่งละ 45 วัน โดยขณะนี้ผู้รับเหมาได้เริ่มเข้าพื้นที่ สร้างนั่งร้าน เคลียร์พื้นที่ด้านล่าง รอวันพร้อมที่จะปิดสะพาน ห้ามใช้ต้นเดือน ส.ค. ทั้งนี้ทางสำนักการโยธา ได้กำหนดแนวทางการทำงานของผู้รับเหมา โดยระหว่างที่ปิดการจราจรบนสะพานห้ามปิดการจราจรบนถนนด้านล่างเด็ดขาด ทำให้ต้องวางแผนอย่างรอบคอบ พล.ต.ต.ภาณุ เกิดลาภผล รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ดูแลงานจราจร กล่าวว่า การปรับปรุงโครงสร้างสะพานครั้งนี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาการจราจรอย่างแน่นอน เนื่องจากในการดำเนินการซ่อม ทางบริษัทที่ปรึกษาแจ้งว่าจะต้องปิดการจราจรต่อเนื่อง เพราะเป็นการซ่อมตัวโครงสร้างที่ไม่สามารถปิดการจราจรเพื่อให้ทำงานใน ตอนกลางคืนแล้วคืนผิวจราจรในตอนกลางวันเหมือนกับการก่อสร้างทั่วๆ ไป ซึ่งทุกจุดเป็นเส้นทางที่มีรถใช้เป็นประจำอยู่แล้ว กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ สะพานประชานุกูล สะพานวงศ์สว่าง ที่เป็นแนวเส้นทางวงแหวนรัชดาฯ ที่มีปริมาณรถใช้จำนวนมาก ได้ให้คำแนะนำกับบริษัทที่ปรึกษาว่า ไม่ควรปิดซ่อมสะพานประชานุกูล สะพานวงศ์สว่าง และสะพานพงษ์เพชรพร้อมกัน และอีกพื้นที่หนึ่งคือย่านมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ห้ามปิดสะพานเกษตรและสะพานรัชโยธินพร้อมกัน นอกจากนี้สะพานสามเหลี่ยมดินแดงก็เป็นอีกจุดที่สำคัญ เป็นเส้นทางรับรถเข้าสู่กลางเมืองที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และเป็นสะพานแบบเดินทางทางเดียวซึ่งมีปริมาณจราจรหนาแน่น สิ่งที่ทำได้คือการเร่งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบก่อนที่จะมีการปิด สะพาน เพื่อให้ผู้ใช้รถได้วางแผนการเดินทางและหาเส้นทางเลี่ยง ต้องร่วมมือกันทั้งในส่วนของหน่วยงานและประชาชน[/SIZE][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
Primera & Presea Club
>
ก็อบมาจาก Racing Forum (ขออนุญาติคุณ prototype01 ด้วยนะคับ)
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...