เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Japanese Car Clubs
>
Daihatsu Club
>
ดิสก์เบรก
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="crazymann, post: 1201839, member: 1815"]<span style="color: Red">พื้นฐานของดิสก์เบรก</span></p><p><br /></p><p><span style="color: Red">ส่วนประกอบของดิสก์เบรกคือ</span></p><p><br /></p><p>แผ่นผ้าเบรก </p><p>คาลิปเปอร์ </p><p>แผ่นจานโรเตอร์ </p><p> </p><p><br /></p><p><span style="color: red">ส่วนประกอบของดิสก์เบรก</span></p><p><br /></p><p> ใครที่ไม่เคยเห็นดิสก์เบรก ให้ไปดูที่ล้อจักรยาน มีหลักการทำงานคล้ายๆกัน ลักษณะของเบรกล้อจักรยานเหมือนกับก้ามปู ภาษาอังกฤษเรียกว่าคาลิปเปอร์ มันจะบีบแผ่นผ้าเบรกเข้ากับขอบของล้อจักรยานทำให้รถจักรยานที่กำลังวิ่งลดความเร็วลง ส่วนในระบบดิสก์เบรก แผ่นผ้าเบรกจะอัดเข้าแผ่นโรเตอร์ไม่ใช่อัดเข้ากับล้อโดยตรง แรงที่อัดผ้าเบรกมาจากระบบไฮดรอลิก แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผ้าเบรกกับแผ่นโรเตอร์จะชลอความเร็วของแผ่นโรเตอร์ลง </p><p><br /></p><p> รถที่กำลังเคลื่อนที่มีพลังงานจลน์ค่าหนึ่ง เมื่อเราเบรกรถ ความเร็วของรถจะลดลง พลังงานจลน์จะลดลงด้วย พลังงานที่ลดลงนี้เปลี่ยนไปเป็นพลังงานความร้อน ในรูปของแรงเสียดทานที่เสียดสีอยู่กับแผ่นโรเตอร์ ความร้อนนี้ต้องรีบระบายออกอย่างรวดเร็ว จึงต้องเจาะรู (Vent) ไว้ที่ดิสก์เบรก</p><p><br /></p><p><span style="color: red">รูระบายความร้อนบนดิสก์เบรก (Vent)</span></p><p><br /></p><p> รูระบายความร้อนนี้อยู่ระหว่างแผ่นโรเตอร์ 2 แผ่น ถ้าเป็นรถขนาดใหญ่ ใช้ปั๊มลม อัดอากาศผ่านเข้าไปในรูเพื่อเร่งการระบายความร้อน</p><p><br /></p><p><span style="color: red">เบรกที่สามารถปรับตัวเองได้</span></p><p><br /></p><p> ระบบ คาลิปเปอร์ลอยแบบลูกสูบเดี่ยว (single-piston floating caliper) ของดิสก์เบรก เป็น ระบบที่สามารถปรับตัวเองได้ คือสามารถ self-centering และ self -adjusting ตัวของคาลิปเปอร์สามารถเลื่อนจากข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่งเมื่อแตะเบรก มันจะรักษาระยะการเบรกให้อยู่ตรงกึ่งกลางเสมอ </p><p><br /></p><p> ให้สังเกตดูว่า ไม่มีสปริงดึงผ้าเบรกออกจากแผ่นดิสก์ ในสภาวะปกติเมื่อยังไม่ได้เบรก ผ้าเบรกจะอยู่ห่างจากแผ่นโรเตอร์ระยะใกล้ๆค่าหนึ่ง เหมือนกับลอยห่างๆจากแผ่นโรเตอร์ ตรงนี้มีความสำคัญมาก เพราะว่าลูกสูบของเบรกที่ล้อมีขนาดใหญ่กว่า ลูกสูบมาสเตอร์ (master cylinder) ถ้าผ้าเบรกห่างจากแผ่นโรเตอร์มาก ลูกสูบ มาสเตอร์ ต้องใช้ของเหลวจำนวนมาก อัดลูกสูบที่เบรกให้ติดกับโรเตอร์ นั่นก็หมายความว่าผู้ขับขี่ต้องกดเบรกจนจม จึงจะสามารถเบรกได้</p><p><br /></p><p> สำหรับรถรุ่นเก่า ลูกสูบจะมีหลายตัว เช่นถ้าเป็นคู่ เมื่อกดก็กดทั้งคู่ แต่ระบบแบบกดทั้งคู่นี้ไม่ค่อยได้ผล เปลี่ยนไปใช้ระบบลูกสูบเดี่ยว และทำเป็นก้ามปู ราคาถูกและได้ผลกว่า</p><p><br /></p><p><span style="color: red">ระบบเบรกฉุกเฉิน</span></p><p><br /></p><p> ในรถที่มีดิสก์เบรก 4 ล้อ เบรกฉุกเฉินหรือเบรกมือไม่ใช้ระบบไฮดรอกลิก แต่ใช้ระบบกลไกเป็นการดึงสายเคเบิลแทน</p><p><br /></p><p><span style="color: red">ซ่อมแซมเบรก</span></p><p><br /></p><p> วิธีซ่อมแซมเบรกที่ทำกันบ่อยสุดคือการเปลี่ยนผ้าเบรก ดิสก์เบรกมีโลหะที่ใช้วัดความหนาของผ้าเบรกเรียกว่า wear indicator </p><p><br /></p><p>บริเวณที่เป็นรูของแผ่นผ้าเบรก เป็นจุดที่ใช้หมุดยิงเพื่อยึดผ้าเบรก </p><p><br /></p><p> เมื่อผ้าเบรกใกล้หมด แผ่นโลหะที่ใช้วัดจะสัมผัสกับแผ่นโรเตอร์และทำให้เกิดเสียง ็หมายความว่าถึงเวลาเปลี่ยนผ้าเบรกได้แล้ว</p><p><br /></p><p> มีช่องว่างอยู่ที่คาลิปเปอร์ เมื่อมองผ่านไปสามารถเห็นได้ว่าผ้าเบรกเหลือมากน้อยเท่าไร</p><p><br /></p><p><span style="color: red">ช่องเปิดของคาลิปเปอร์</span></p><p><br /></p><p> ถ้าผ้าเบรกใกล้หมด และผู้ขับขี่ขี้เหนียวคือไม่ใส่ใจ และไม่ยอมเปลี่ยนเสียที แผ่นโรเตอร์จะขูดกับของแข็ง และทำให้เกิดเป็นรอยที่แผ่นโรเตอร์ขึ้น สูญเสียความเรียบไป ถ้าเกิดขึ้นการเบรกจะไม่เรียบ และอาจเกิดการสั่นได้ วิธีแก้ไขคือเจียรจานเบรก โดยใช้เครื่องกลึง</p><p><br /></p><p> การเจียรผิวจานเบรกให้เรียบไม่ควรจะทำบ่อยนัก และไม่ใช่ทำทุกครั้งที่เปลี่ยนผ้าเบรก ควรทำเมื่อเกิดรอยขึ้นมากๆเท่านั้น เพราะจะทำให้จานเบรกบางลง และอายุการใช้งานสั้นลงด้วย ภายในสเปคของเครื่องยนต์ มีตารางบอกว่าความหนาของจานเบรกน้อยสุดเป็นเท่าไร[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="crazymann, post: 1201839, member: 1815"][COLOR="Red"]พื้นฐานของดิสก์เบรก[/COLOR] [COLOR="Red"]ส่วนประกอบของดิสก์เบรกคือ[/COLOR] แผ่นผ้าเบรก คาลิปเปอร์ แผ่นจานโรเตอร์ [COLOR="red"]ส่วนประกอบของดิสก์เบรก[/COLOR] ใครที่ไม่เคยเห็นดิสก์เบรก ให้ไปดูที่ล้อจักรยาน มีหลักการทำงานคล้ายๆกัน ลักษณะของเบรกล้อจักรยานเหมือนกับก้ามปู ภาษาอังกฤษเรียกว่าคาลิปเปอร์ มันจะบีบแผ่นผ้าเบรกเข้ากับขอบของล้อจักรยานทำให้รถจักรยานที่กำลังวิ่งลดความเร็วลง ส่วนในระบบดิสก์เบรก แผ่นผ้าเบรกจะอัดเข้าแผ่นโรเตอร์ไม่ใช่อัดเข้ากับล้อโดยตรง แรงที่อัดผ้าเบรกมาจากระบบไฮดรอลิก แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผ้าเบรกกับแผ่นโรเตอร์จะชลอความเร็วของแผ่นโรเตอร์ลง รถที่กำลังเคลื่อนที่มีพลังงานจลน์ค่าหนึ่ง เมื่อเราเบรกรถ ความเร็วของรถจะลดลง พลังงานจลน์จะลดลงด้วย พลังงานที่ลดลงนี้เปลี่ยนไปเป็นพลังงานความร้อน ในรูปของแรงเสียดทานที่เสียดสีอยู่กับแผ่นโรเตอร์ ความร้อนนี้ต้องรีบระบายออกอย่างรวดเร็ว จึงต้องเจาะรู (Vent) ไว้ที่ดิสก์เบรก [COLOR="red"]รูระบายความร้อนบนดิสก์เบรก (Vent)[/COLOR] รูระบายความร้อนนี้อยู่ระหว่างแผ่นโรเตอร์ 2 แผ่น ถ้าเป็นรถขนาดใหญ่ ใช้ปั๊มลม อัดอากาศผ่านเข้าไปในรูเพื่อเร่งการระบายความร้อน [COLOR="red"]เบรกที่สามารถปรับตัวเองได้[/COLOR] ระบบ คาลิปเปอร์ลอยแบบลูกสูบเดี่ยว (single-piston floating caliper) ของดิสก์เบรก เป็น ระบบที่สามารถปรับตัวเองได้ คือสามารถ self-centering และ self -adjusting ตัวของคาลิปเปอร์สามารถเลื่อนจากข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่งเมื่อแตะเบรก มันจะรักษาระยะการเบรกให้อยู่ตรงกึ่งกลางเสมอ ให้สังเกตดูว่า ไม่มีสปริงดึงผ้าเบรกออกจากแผ่นดิสก์ ในสภาวะปกติเมื่อยังไม่ได้เบรก ผ้าเบรกจะอยู่ห่างจากแผ่นโรเตอร์ระยะใกล้ๆค่าหนึ่ง เหมือนกับลอยห่างๆจากแผ่นโรเตอร์ ตรงนี้มีความสำคัญมาก เพราะว่าลูกสูบของเบรกที่ล้อมีขนาดใหญ่กว่า ลูกสูบมาสเตอร์ (master cylinder) ถ้าผ้าเบรกห่างจากแผ่นโรเตอร์มาก ลูกสูบ มาสเตอร์ ต้องใช้ของเหลวจำนวนมาก อัดลูกสูบที่เบรกให้ติดกับโรเตอร์ นั่นก็หมายความว่าผู้ขับขี่ต้องกดเบรกจนจม จึงจะสามารถเบรกได้ สำหรับรถรุ่นเก่า ลูกสูบจะมีหลายตัว เช่นถ้าเป็นคู่ เมื่อกดก็กดทั้งคู่ แต่ระบบแบบกดทั้งคู่นี้ไม่ค่อยได้ผล เปลี่ยนไปใช้ระบบลูกสูบเดี่ยว และทำเป็นก้ามปู ราคาถูกและได้ผลกว่า [COLOR="red"]ระบบเบรกฉุกเฉิน[/COLOR] ในรถที่มีดิสก์เบรก 4 ล้อ เบรกฉุกเฉินหรือเบรกมือไม่ใช้ระบบไฮดรอกลิก แต่ใช้ระบบกลไกเป็นการดึงสายเคเบิลแทน [COLOR="red"]ซ่อมแซมเบรก[/COLOR] วิธีซ่อมแซมเบรกที่ทำกันบ่อยสุดคือการเปลี่ยนผ้าเบรก ดิสก์เบรกมีโลหะที่ใช้วัดความหนาของผ้าเบรกเรียกว่า wear indicator บริเวณที่เป็นรูของแผ่นผ้าเบรก เป็นจุดที่ใช้หมุดยิงเพื่อยึดผ้าเบรก เมื่อผ้าเบรกใกล้หมด แผ่นโลหะที่ใช้วัดจะสัมผัสกับแผ่นโรเตอร์และทำให้เกิดเสียง ็หมายความว่าถึงเวลาเปลี่ยนผ้าเบรกได้แล้ว มีช่องว่างอยู่ที่คาลิปเปอร์ เมื่อมองผ่านไปสามารถเห็นได้ว่าผ้าเบรกเหลือมากน้อยเท่าไร [COLOR="red"]ช่องเปิดของคาลิปเปอร์[/COLOR] ถ้าผ้าเบรกใกล้หมด และผู้ขับขี่ขี้เหนียวคือไม่ใส่ใจ และไม่ยอมเปลี่ยนเสียที แผ่นโรเตอร์จะขูดกับของแข็ง และทำให้เกิดเป็นรอยที่แผ่นโรเตอร์ขึ้น สูญเสียความเรียบไป ถ้าเกิดขึ้นการเบรกจะไม่เรียบ และอาจเกิดการสั่นได้ วิธีแก้ไขคือเจียรจานเบรก โดยใช้เครื่องกลึง การเจียรผิวจานเบรกให้เรียบไม่ควรจะทำบ่อยนัก และไม่ใช่ทำทุกครั้งที่เปลี่ยนผ้าเบรก ควรทำเมื่อเกิดรอยขึ้นมากๆเท่านั้น เพราะจะทำให้จานเบรกบางลง และอายุการใช้งานสั้นลงด้วย ภายในสเปคของเครื่องยนต์ มีตารางบอกว่าความหนาของจานเบรกน้อยสุดเป็นเท่าไร[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Japanese Car Clubs
>
Daihatsu Club
>
ดิสก์เบรก
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...