เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Japanese Car Clubs
>
Daihatsu Club
>
ดรัมเบรก
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="crazymann, post: 1201842, member: 1815"]<span style="color: Red">ดรัมเบรก</span></p><p><br /></p><p>ดรัมเบรกมีหลักการทำงานเหมือนกับดิสก์เบรก โดยที่ดิสก์เบรกใช้ผ้าเบรกหนีบเข้ากับจาน ส่วนดรัมเบรกใช้ผ้าเบรกอัดกับดรัม และใช้แรงเสียดทานลดความเร็วของรถ </p><p><br /></p><p> ดรัมเบรกของรถส่วนใหญ่อยู่ที่ล้อหลัง และดิสก์เบรกที่ล้อหน้า ส่วนประกอบของดรัมเบรกซับซ้อนกว่าดิสก์เบรก แต่ราคาถูกกว่า ส่วนเบรกมือหรือเบรกฉุกเฉินใช้ดรัมเบรก</p><p><br /></p><p><span style="color: red">ส่วนประกอบภายในของดรัมเบรกดูเหมือนซับซ้อน แต่จริงๆพื้นฐานแสนง่ายดาย</span></p><p><br /></p><p>ดรัมเบรกประกอบด้วย เบรกชูว์ (Brake shoes) 2 อัน ลูกสูบ 1 กระบอก ตัวปรับ (adjuster) เบรกมือ (emergency brake) และสปริงอีกจำนวนหนึ่ง</p><p><br /></p><p>เมื่อคุณใช้เท้าแตะเบรก ลูกสูบไฮดรอลิกจะดัน เบรกชูว์ออกไปอัดกับดรัม ในรูปมีสปริงอยู่ด้วย คุณคงสงสัยว่าสปริงมีประโยชน์อะไรใช่ไหมครับ</p><p><br /></p><p> ตรงนี้มีความสลับซับซ้อนเล็กน้อย เมื่อเบรกชูว์สัมผัสกับดรัม จะเกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า wedging ทำให้แรงกดบนผ้าเบรกเพิ่มขึ้น แต่เพราะว่าผลของ wedging ทำให้ผ้าเบรกต้องอยู่ห่างจากดรัมระยะหนึ่ง ใกล้มากไม่ได้ ดังนั้นเมื่อปล่อยเบรก ถ้าไม่มีสปริงดึงผ้าเบรกกลับ เบรกชูว์จะติดอยู่กับดรัม ปัญหามีอยู่ว่า ถ้าเกิดผ้าเบรกสึกช่องว่างจะเพิ่มขึ้น เราจะต้องคอยปรับให้ช่องว่างคงที่ตลอด</p><p><br /></p><p><span style="color: red">ตัวปรับเบรก</span></p><p><br /></p><p> เบรกชูว์จะต้องอยู่ใกล้กับดรัม แต่ต้องไม่สัมผัสกับดรัม ถ้าอยู่ห่างเกินไป (เช่นผ้าเบรกสึก) กระบอกสูบต้องใช้น้ำมันมากไหลเข้าไปในกระบอกสูบเพื่อให้กระบอกสูบเคลื่อนที่ไปอัดเบรกชูว์เข้ากับดรัม นั่นหมายความว่าคุณจะต้องเหยียบเบรกจนจมจึงจะสามารถเบรกได้ เป็นเหตุผลหนึ่งที่ต้องมีตัวปรับอัตโนมัติ (auytomatic adjuster)</p><p><br /></p><p>คุณจะสังเกตเห็นว่าเมื่อเบรกหลวม จะเกิดช่องว่างขึ้นระหว่างเบรกชูว์กับดรัม เมื่อเบรกชูว์กดไปที่ดรัม ถ้าช่องว่างมีระยะการเคลื่อนที่มากกว่าที่ตั้งไว้ กลไกจะหมุนเฟืองไป 1 ฟัน แต่ถ้าช่องว่างแคบ กลไกนี้จะไม่มีระยะพอที่จะหมุนเฟืองได้ ซึ่งจะมีลักษณะการหมุนของน๊อต มันจะเลื่อนช่องว่างให้แคบลง เมื่อผ้าเบรกสึกหลังจากการใช้งานไปอีกระยะหนึ่ง กลไกก็จะหมุนเฟืองไปอีกฟันหนึ่ง รักษาระยะห่างให้คงที่ตลอดเวลา</p><p><br /></p><p> รถบางรุ่นออกแบบมาให้ตัวปรับทำงาน เมื่อคุณยกเบรกฉุกเฉิน ดังนั้นถ้าคุณไม่เคยยกเบรกฉุกเฉินขึ้นเป็นเวลานาน ตัวปรับจะไม่สามารถปรับระยะห่างได้ ดังนั้นถ้าคุณซื้อรถที่มีตัวปรับแบบนี้ให้ยกเบรกมืออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง</p><p><br /></p><p><span style="color: red">เบรกมือ</span></p><p><br /></p><p> เบรกฉุกเฉินหรือเบรกมือไม่ได้ใช้ระบบไฮดรกลิกของรถยนต์ แต่ใช้การดึงสายเคเบิลเป็นกลไกในการเบรก เมื่อสายเคเบิลถูกดึงด้วยคนขับ เบรกชูว์จะถูกกดเข้ากับดรัม</p><p><br /></p><p><span style="color: red">การดูแลรักษา</span></p><p><br /></p><p> ดรัมเบรกไม่ต้องดูแลมากเท่าไรนัก ส่วนใหญ่ถ้าผ้าเบรกหมดก็เปลี่ยนเบรกชูว์ ดรัมเบรกของรถบางรุ่นมีช่องอยู่ทางด้านล่าง เมื่อคุณมองผ่านช่องสามารถตรวจสอบได้ว่าเนื้อของผ้าเบรกยังเหลืออยู่พอหรือไม่ </p><p><br /></p><p> ถ้าเราใช้ดรัมเบรกไปเรื่อยๆโดยไม่มีการเปลี่ยน จะทำให้เนื้อเบรกหมดและดรัมไปครูดกับหมุด ทำให้ดรัมเป็นรอยครูด รอยครูดอาจจะเกิดจากเม็ดทรายหรือเม็ดกรวดก็ได้ วิธีแก้ไขเหมือนกับดิสก์เบรก คือการกลึงผิวให้เรียบ การกลึงทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของดรัมใหญ่ขึ้น ยิ่งกลึงบ่อยก็จะยิ่งใหญ่ขึ้น ดรัมเบรกจึงมีสเปคของเครื่องกำหนดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในว่าสามารถใหญ่สุดได้เท่าไร ( Maximum allowable diameter )[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="crazymann, post: 1201842, member: 1815"][COLOR="Red"]ดรัมเบรก[/COLOR] ดรัมเบรกมีหลักการทำงานเหมือนกับดิสก์เบรก โดยที่ดิสก์เบรกใช้ผ้าเบรกหนีบเข้ากับจาน ส่วนดรัมเบรกใช้ผ้าเบรกอัดกับดรัม และใช้แรงเสียดทานลดความเร็วของรถ ดรัมเบรกของรถส่วนใหญ่อยู่ที่ล้อหลัง และดิสก์เบรกที่ล้อหน้า ส่วนประกอบของดรัมเบรกซับซ้อนกว่าดิสก์เบรก แต่ราคาถูกกว่า ส่วนเบรกมือหรือเบรกฉุกเฉินใช้ดรัมเบรก [COLOR="red"]ส่วนประกอบภายในของดรัมเบรกดูเหมือนซับซ้อน แต่จริงๆพื้นฐานแสนง่ายดาย[/COLOR] ดรัมเบรกประกอบด้วย เบรกชูว์ (Brake shoes) 2 อัน ลูกสูบ 1 กระบอก ตัวปรับ (adjuster) เบรกมือ (emergency brake) และสปริงอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อคุณใช้เท้าแตะเบรก ลูกสูบไฮดรอลิกจะดัน เบรกชูว์ออกไปอัดกับดรัม ในรูปมีสปริงอยู่ด้วย คุณคงสงสัยว่าสปริงมีประโยชน์อะไรใช่ไหมครับ ตรงนี้มีความสลับซับซ้อนเล็กน้อย เมื่อเบรกชูว์สัมผัสกับดรัม จะเกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า wedging ทำให้แรงกดบนผ้าเบรกเพิ่มขึ้น แต่เพราะว่าผลของ wedging ทำให้ผ้าเบรกต้องอยู่ห่างจากดรัมระยะหนึ่ง ใกล้มากไม่ได้ ดังนั้นเมื่อปล่อยเบรก ถ้าไม่มีสปริงดึงผ้าเบรกกลับ เบรกชูว์จะติดอยู่กับดรัม ปัญหามีอยู่ว่า ถ้าเกิดผ้าเบรกสึกช่องว่างจะเพิ่มขึ้น เราจะต้องคอยปรับให้ช่องว่างคงที่ตลอด [COLOR="red"]ตัวปรับเบรก[/COLOR] เบรกชูว์จะต้องอยู่ใกล้กับดรัม แต่ต้องไม่สัมผัสกับดรัม ถ้าอยู่ห่างเกินไป (เช่นผ้าเบรกสึก) กระบอกสูบต้องใช้น้ำมันมากไหลเข้าไปในกระบอกสูบเพื่อให้กระบอกสูบเคลื่อนที่ไปอัดเบรกชูว์เข้ากับดรัม นั่นหมายความว่าคุณจะต้องเหยียบเบรกจนจมจึงจะสามารถเบรกได้ เป็นเหตุผลหนึ่งที่ต้องมีตัวปรับอัตโนมัติ (auytomatic adjuster) คุณจะสังเกตเห็นว่าเมื่อเบรกหลวม จะเกิดช่องว่างขึ้นระหว่างเบรกชูว์กับดรัม เมื่อเบรกชูว์กดไปที่ดรัม ถ้าช่องว่างมีระยะการเคลื่อนที่มากกว่าที่ตั้งไว้ กลไกจะหมุนเฟืองไป 1 ฟัน แต่ถ้าช่องว่างแคบ กลไกนี้จะไม่มีระยะพอที่จะหมุนเฟืองได้ ซึ่งจะมีลักษณะการหมุนของน๊อต มันจะเลื่อนช่องว่างให้แคบลง เมื่อผ้าเบรกสึกหลังจากการใช้งานไปอีกระยะหนึ่ง กลไกก็จะหมุนเฟืองไปอีกฟันหนึ่ง รักษาระยะห่างให้คงที่ตลอดเวลา รถบางรุ่นออกแบบมาให้ตัวปรับทำงาน เมื่อคุณยกเบรกฉุกเฉิน ดังนั้นถ้าคุณไม่เคยยกเบรกฉุกเฉินขึ้นเป็นเวลานาน ตัวปรับจะไม่สามารถปรับระยะห่างได้ ดังนั้นถ้าคุณซื้อรถที่มีตัวปรับแบบนี้ให้ยกเบรกมืออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง [COLOR="red"]เบรกมือ[/COLOR] เบรกฉุกเฉินหรือเบรกมือไม่ได้ใช้ระบบไฮดรกลิกของรถยนต์ แต่ใช้การดึงสายเคเบิลเป็นกลไกในการเบรก เมื่อสายเคเบิลถูกดึงด้วยคนขับ เบรกชูว์จะถูกกดเข้ากับดรัม [COLOR="red"]การดูแลรักษา[/COLOR] ดรัมเบรกไม่ต้องดูแลมากเท่าไรนัก ส่วนใหญ่ถ้าผ้าเบรกหมดก็เปลี่ยนเบรกชูว์ ดรัมเบรกของรถบางรุ่นมีช่องอยู่ทางด้านล่าง เมื่อคุณมองผ่านช่องสามารถตรวจสอบได้ว่าเนื้อของผ้าเบรกยังเหลืออยู่พอหรือไม่ ถ้าเราใช้ดรัมเบรกไปเรื่อยๆโดยไม่มีการเปลี่ยน จะทำให้เนื้อเบรกหมดและดรัมไปครูดกับหมุด ทำให้ดรัมเป็นรอยครูด รอยครูดอาจจะเกิดจากเม็ดทรายหรือเม็ดกรวดก็ได้ วิธีแก้ไขเหมือนกับดิสก์เบรก คือการกลึงผิวให้เรียบ การกลึงทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของดรัมใหญ่ขึ้น ยิ่งกลึงบ่อยก็จะยิ่งใหญ่ขึ้น ดรัมเบรกจึงมีสเปคของเครื่องกำหนดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในว่าสามารถใหญ่สุดได้เท่าไร ( Maximum allowable diameter )[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Japanese Car Clubs
>
Daihatsu Club
>
ดรัมเบรก
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...