เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
รถนำเข้าจากญี่ปุ่น จดทะเบียนใหม่ คุ้มไหมครับ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="noom2_2000, post: 1490634, member: 4964"]ทะเบียน รถนำเข้า มี 2 แบบ </p><p><br /></p><p>1 จดประกอบ ซึ่งขั้นตอนยุ่งยากมาก ต้องเสียเงินหลายขั้นตอน ทั้งต้องตรวจมาตรฐานอุตสาหกรรมด้วย </p><p>เฉพาะ มอก.ถ้าไม่ผ่านก็จบ เป็นเศษเหล็ก ตรวจได้ 3 ครั้ง และไปเสียภาษี สรรพสามิต และศุลกากร ก็จบ</p><p><br /></p><p>2 จดรถเก่านำเข้า ต้องครบครองที่ญี่ปุ่น ไม่น้อยกว่า 1-2 ปี และต้องมีใบอินวอย์ ของคนที่ญี่ปุ่นส่งมาด้วย </p><p>และแจ้งทางญี่ปุ่นว่าจะนำกลับมาใช้ในประเทศไทย โดยไปแจ้งที่กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร</p><p>เช่นกัน เค้าจะออกใบ และคำนวนภาษีให้ก่อน ตัดสินใจว่าจะนำเข้าหรือไม่ มีการตัดค่าเสื่อมราคาให้</p><p><br /></p><p>3 ลักลอบ นำเข้า และให้ศุลกากรจับ แล้วจึงไปประมูลจากกลุ่มศุลกากร ขั้นตอนง่าย แต่ภาษีก็แพง อาศัย</p><p>จนท. กรมศุลกากรช่วย ก็ง่าย โดยกรมศุล จะออกใบให้ไปขอเล่มทะเบียนที่ ขนส่ง ท้ายเล่มมีบันทึก</p><p>ด้วยว่า เป็นรถประมูล</p><p><br /></p><p>1. การนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลชั่วคราว</p><p><br /></p><p>รถยนต์ รถจักรยานยนต์ เรือสำราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เจ้าของนำเข้ามาพร้อมกับตนเป็นการชั ่วคราวและจะส่งกลับออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน 6 เดือนจะได้รับการยกเว้นอากรขาเข้า โดยผู้ที่ประสงค์จะนำยานพาหนะส่วนบุคคลประเภทรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เรือสำราญและกีฬา หรือเรือประมง เข้ามาพร้อมกับตนเองเป็นการชั่วคราวต้องปฏิบัติตามหล ักเกณ์และเงื่อนไขที่กรมศุลกากรกำหนดไว้ให้ครบถ้วน</p><p><br /></p><p>1.1 เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลช ั่วคราว</p><p><br /></p><p>(1) ใบขนสินค้าพิเศษและมีสำเนา 5 ฉบับ</p><p>(2) ทะเบียนยานพาหนะ</p><p>(3) บัตรประจำตัวและหนังสือเดินทางของผู้ควบคุมยานพาหนะ</p><p>(4) หนังสือมอบอำนาจ กรณีผู้ควบคุมยานพาหนะมิใช่เจ้าของ </p><p>(5) คำร้องขอนำรถเข้ามาเพื่อการท่องเที่ยวเป็นการชั่วครา ว</p><p>(6) หลักฐานการซื้อขาย เช่น Proforma Invoice, Invoice</p><p>(7) สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล</p><p>( สัญญาประกันการส่งกลับ</p><p>(9) เอกสารอื่น ๆ (ถ้ามี)</p><p><br /></p><p>1.2 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนำเข้าชั่วคราวยานพาหนะส่วน บุคคล</p><p><br /></p><p>(1) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าพร้อมเอกสารประกอบ ต่อฝ่ายเอกสิทธิ์และส่งเสริมการลงทุน ส่วนการนำเข้า ของสำนักงานหรือด่านศุลกากรที่นำเข้า กรณีมีสิ่งของอื่นหรือผู้โดยสารและสิ่งของติดตัวผู้โ ดยสารเข้ามาพร้อมกับยานพาหนะ ผู้นำเข้าหรือตัวแทนต้องแจ้งกรมศุลกากรด้วย</p><p><br /></p><p>(2) กรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ หากเอกสารถูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า และกำหนดวงเงินค้ำประกันสำหรับการนำเข้านั้น ๆ </p><p><br /></p><p>(3) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักประกัน (เงินสดหรือ ธนาคารค้ำประกัน) ไปชำระที่ฝ่ายบัญชีและอากร</p><p><br /></p><p>(4) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักฐานการวางประกันมาแสดงต่อเ จ้าหน้าที่ศุลกากร</p><p><br /></p><p>(5) กรมศุลกากรจะตรวจยานพานะและสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว จะมอบสำเนาใบขนสินค้าพิเศษ ให้ผู้นำเข้าไว้ 1 ฉบับ เพื่อใช้กำกับยานพาหนะและแสดงต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเ มื่อนำยานพาหนะออกไปนอกประเทศไทย</p><p><br /></p><p>1.3 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการส่งออกยานพาหนะส่วนบุคคล</p><p><br /></p><p>(1) ผู้ส่งออกยื่นใบขนสินค้าพิเศษที่กรมศุลกากรออกให้ขณะ นำเข้าและสำเนา 1 ฉบับ พร้อมกับแบบธุรกิจต่างประเทศ (ธ.ต.1) 1 ฉบับ แก เจ้าหน้าที่ศุลกากร</p><p><br /></p><p>(2) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแล้วจะถอนประกันทัณฑ์บนที่ผู้นำเข้าทำ ไว้กับกรมศุลกากรขณะนำเข้า</p><p><br /></p><p>1.4 ข้อควรทราบในการนำเข้าชั่วคราวยานพาหนะส่วนบุคคล</p><p><br /></p><p>(1) หากผู้นำเข้าไม่นำรถกลับออกไปในระยะเวลาที่กำหนดไว้ใ นสัญญาประกันทัณฑ์บน กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาทัณฑ์บนเต็มจำนวนที่กำหนดไว้ โดยไม่มีการลดหย่อนทั้งสิ้น</p><p><br /></p><p>(2) กรณีผู้นำเข้าต้องการขอขยายเวลาการนำรถออกนอกประเทศไ ทยตามที่ระบุไว้ในสัญญาประกันทัณฑ์บน ก็สามารถขอขยายเวลากับกรมศุลกากรได้อีกแต่ไม่เกิน 6 เดือน เว้นแต่ในกรณีที่จำเป็น เช่น เครื่องยนต์เสีย หรือรถยนต์ถูกชนต้องเสียเวลาในการซ่อม ก็อาจขยายเวลาออกไปให้เกินกว่า 6 เดือนได้ แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 8 เดือน นับแต่วันนำเข้า</p><p><br /></p><p>(3) การประกันและการค้ำประกัน</p><p>ผู้นำเข้าสามารถวางประกันด้วยเงินสด หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคาร แต่สำหรับรถจักรยานยนต์ที่นักท่องเที่ยวชาวต่างประเท ศนำเข้าทางสำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ สำนักงานศุลกากรกรุงเทพ สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ ให้ค้ำประกันตนเองได้</p><p>ในกรณีที่ผู้นำเข้าไม่สามารถจะวางประกันด้วยเงินสด หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารได้จริงๆ กรมศุลกากรก็อาจพิจารณาอนุมัติให้ผู้นำเข้าค้ำประกัน ตนเองได้</p><p>การกำหนดเงินประกันและเงินค้ำประกัน กรมศุลกากรจะกำหนดโดยถือตามราคาบวกค่าภาษีอากรทุกประ เภทของรถที่นำเข้าเป็นยอดเงินประกัน </p><p><br /></p><p>(4) การบังคับตามสัญญาประกัน</p><p>เมื่อครบกำหนดตามที่ระบุไว้ในสัญญาประกัน หรือผู้นำของเข้าได้แสดงความจำนงก่อนครบกำหนดดังกล่า วว่าไม่ประสงค์จะนำรถกลับออกไป กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาประกันเต็มตามจำนวนที่กำหนดไ ว้โดยไม่มีการลดหย่อนใดๆ ทั้งสิ้น</p><p>ในกรณีที่มีผู้นำรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์เข้ามาในประเทศทางเขตแดนทางบกเป็นก ารชั่วคราวและจะนำกลับออกไป แต่นำกลับออกไปไม่ทันภายในเวลาที่กำหนดตามที่ระบุไว้ ในสัญญาประกัน โดยไม่มีเจตนาฝ่าฝืนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าปรับวันละ 100 บาท นับจากวันที่ครบกำหนดในสัญญาประกัน แต่ไม่เกิน 1,000 บาท</p><p>ในกรณีที่ผู้นำเรือเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคร าว และจะนำกลับออกไป แต่นำกลับออกไปไม่ทันภายในเวลาที่กำหนดตามที่ระบุไว้ ในสัญญาประกัน โดยไม่มีเจตนาฝ่าฝืนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าปรับวันละ 500 บาท นับจากวันที่ครบกำหนดในสัญญาประกัน แต่ไม่เกิน 5,000 บาท</p><p><br /></p><p>(5) คำว่า “เรือสำราญและกีฬา” หมายถึง เรือที่ใช้สำหรับหาความสำราญ หรือเรือที่ใช้เพื่อการเล่นกีฬาโดยเฉพาะ และไม่ได้ใช้เพื่อการค้า การทหาร หรือการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร ์เรือสำราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เข้ามาจากต่างประเ ทศนั้น นายเรือจะต้องมารายงานเรือเข้าเช่นเดียวกับเรือทั้งห ลายที่มาจากต่างประเทศ ส่วนเรือสำราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เดินทางไปต่างป ระเทศ จะต้องยื่นใบสำแดงรายงานเรือออก และขอรับใบปล่อยเรือขาออกจากกรมศุลกากรด้วย</p><p><br /></p><p>1.5 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม</p><p><br /></p><p>ชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มีความประสงค์จะขอทราบรายล ะเอียดพิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลชั่วคราว สามารถติดต่องานพิธีการ ฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนพิธีการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือ ฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนพิธีการนำเข้า สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้าทุกแห่งในวันและเวลาราชการ</p><p><br /></p><p><br /></p><p>2. การนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลแบบถาวรการนำเข้ารถยนต์ส่ วนบุคคลหากในลักษณะนี้ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าภาษีอาก รตามปกติ หากเป็นรถยนต์ใหม่ก็ให้ปฏิบัติพิธีการนำเข้าเช่นเดีย วกับการนำเข้าสินค้าอื่น ๆ แต่หากเป็นรถยนต์นั่งเก่าใช้แล้วจะถือเป็นสินค้าควบค ุมการนำเข้ามาในประเทศไทย ในหลักการไม่อนุญาตให้นำเข้า เว้นแต่เป็นการนำเข้าชั่วคราวหรือการนำเข้าเฉพาะตัวท ี่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงพาณิชย์กำหนดไว้เท่าน ั้น</p><p>2.1 หลักเกณฑ์การนำเข้ารถยนต์นั่งเก่าใช้แล้วแบบถาวร</p><p><br /></p><p>(1) นำเข้ามาใช้ได้เองเพียงคนละ 1 คัน</p><p><br /></p><p>(2) กรณีเป็นชาวต่างประเทศจะต้องเป็นผู้ที่จะเข้ามาอยู่ใ นประเทศไทยไม่ต่ำกว่า 1 ปี โดยมีหนังสืออนุญาตการเข้าเมืองจากกองตรวจคนเข้าเมือ ง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และใบอนุญาตทำงานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมม าแสดงในการนำเข้าด้วย</p><p><br /></p><p>(3) กรณีชาวไทยมีคู่สมรสเป็นชาวต่างประเทศ จะต้องมีหลักฐานแสดงว่าเป็นคู่สมรสและนำรถยนต์เข้ามา เพื่อมีภูมิลำเนาในประเทศไทย รวมทั้งผู้นำเข้าต้องถือกรรมสิทธิ์หรือครอบครองรถยนต ์คันนั้นระหว่างอยู่ในต่างประเทศไม่น้อยกว่า 1 ปี 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์จนถึ งวันที่เดินทางเข้ามาอยู่ในประเทศไทย</p><p><br /></p><p>(4) กรณีเป็นชาวไทย ต้องเป็นชาวไทยที่ไปอยู่ต่างประเทศติดต่อกันเป็นเวลา เกินกว่า 1 ปี 6 เดือน แล้วเดินทางกลับมามีภูมิลำเนาในประเทศไทย และถือกรรมสิทธิ์ครอบครองรถยนต์คันนั้นอยู่ในระหว่าง อยู่ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 1 ปี 6 เดือนและมีใบอนุญาตขับขี่รถยนต์</p><p><br /></p><p>2.2 เอกสารที่ควรจัดเตรียมการนำเข้ารถยนต์แบบถาวร</p><p><br /></p><p>(1) เอกสารทั่วไป </p><p>ใบขนสินค้าขาเข้า ประกอบด้วยต้นฉบับและสำเนา 1 ฉบับ</p><p>ใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading or Air Waybill)</p><p>เอกสารการซื้อขายรถยนต์ (ถ้ามี)</p><p>ใบสั่งปล่อยสินค้า (กศก.100/1)</p><p>แบบธุรกิจต่างประเทศ (Foreign Transaction Form) กรณีสินค้านำเข้ามีราคา CIFเกิน 500,000 บาท</p><p>ใบแจ้งยอดเบี้ยประกัน (Insurance Premium Invoice)</p><p>เอกสารอื่น ๆ เช่น หนังสือมอบอำนาจ </p><p>(2) เอกสารเพิ่มเติมกรณีเป็นรถยนต์เก่าใช้แล้ว</p><p>ทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวประชาชน</p><p>หนังสือเดินทาง กรณีย้ายภูมิลำเนา </p><p>ทะเบียนรถยนต์ที่จดทะเบียนการใช้งานที่ต่างประเทศมาแ ล้ว </p><p>ใบอนุญาตการนำเข้าจากกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ </p><p><br /></p><p>2.3 ขั้นตอนปฏิบัติพิธีการ</p><p><br /></p><p>(1) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าพร้อมเอกสารประกอบ ต่อฝ่ายการนำเข้าที่ 4 ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้า </p><p><br /></p><p>(2) กรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ หากเอกสารถูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า และประเมินค่าภาษีอากรที่ผู้นำเข้าจะต้องชำระ </p><p><br /></p><p>(3) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนไปชำระเงินค่าภาษีอากรที่ฝ่ายบัญ ชีและอากร</p><p><br /></p><p>(4) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักฐานการชำระเงินมาแสดงต่อเจ ้าหน้าที่ส่วนตรวจสินค้าเพื่อรับของออกจากอารักขาศุล กากร</p><p><br /></p><p>2.4 หลักเกณฑ์การประเมินอากร</p><p><br /></p><p>(1) กรมศุลกากรกำหนดเกณฑ์การประเมินราคาโดยใช้ราคา CIF ( ราคา + ค่าประกันภัย+ค่าขนส่ง ) เป็นฐานการประเมินอากรนำเข้า</p><p>(2) ราคารวมค่าภาษี เป็นราคาที่รวมการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพ สามิต ( ถ้ามี ) เข้าไว้ ณ. วันที่ชำระค่าภาษีรถยนต์</p><p>(3) กรณีที่เป็นรถยนต์เก่าใช้แล้ว จะกำหนดส่วนลดตามระยะเวลาที่จดทะเบียนให้ ดังนี้</p><p><br /></p><p><br /></p><p><br /></p><p>อัตราส่วนลดราคารถยนต์นั่งใช้แล้ว </p><p>1. จดทะเบียนใช้แล้วไม่เกิน2 เดือน </p><p>หักส่วนลด 2.50%</p><p><br /></p><p>2. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 5.00%</p><p><br /></p><p>3. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 7.50%</p><p><br /></p><p>4. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 10.00 %</p><p><br /></p><p>5. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 เดือน แต่ไม่เกิน 10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 12.50 %</p><p><br /></p><p>6. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 10 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี</p><p>หักส่วนลด 15.00 %</p><p><br /></p><p>7. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 1ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 16.67 %</p><p><br /></p><p>8. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 18.33 %</p><p><br /></p><p>9. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 20.00 %</p><p><br /></p><p>10. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 21.67 %</p><p><br /></p><p>11. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า1 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 23.33 %</p><p><br /></p><p>12. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า1 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 2 ปี</p><p>หักส่วนลด 25.00 %</p><p><br /></p><p>13. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี แต่ไม่เกิน 2ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 26.67 %</p><p><br /></p><p>14. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 28.33 %</p><p><br /></p><p>15. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี6 ดือน</p><p>หักส่วนลด 30.00 %</p><p><br /></p><p>16. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 31.67 %</p><p><br /></p><p>17. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 33.33 %</p><p><br /></p><p>18. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 2 ปี10 เดือนแต่ไม่เกิน 3 ปี</p><p>หักส่วนลด 35.00 %</p><p><br /></p><p>19. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 36.67 %</p><p><br /></p><p>20. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 38.33 %</p><p><br /></p><p>21. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 3ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 40.00 %</p><p><br /></p><p>22. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 41.67 %</p><p><br /></p><p>23. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 43.33 %</p><p><br /></p><p>24. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี</p><p>หักส่วนลด 45.00 %</p><p><br /></p><p>25. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี แต่ไม่เกิน 4 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 46.67 %</p><p><br /></p><p>26. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 48.33 %</p><p><br /></p><p>27. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน4 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 50.00 %</p><p><br /></p><p>28. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 51.67 %</p><p><br /></p><p>29. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 4 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 53.33 %</p><p><br /></p><p>30. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน5 ปี</p><p>หักส่วนลด 55.00 %</p><p><br /></p><p>31. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า5 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 55.83 %</p><p><br /></p><p>32. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 56.67 %</p><p><br /></p><p>33. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 57.50 %</p><p><br /></p><p>34. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 58.33 %</p><p><br /></p><p>35. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า5 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 59.17 %</p><p><br /></p><p>36. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี</p><p>หักส่วนลด 60.00 %</p><p><br /></p><p>37. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 60.50 %</p><p><br /></p><p>38. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 61.00 %</p><p><br /></p><p>39. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 61.50 %</p><p><br /></p><p>40. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 62.00 %</p><p><br /></p><p>41. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 62.50 %</p><p><br /></p><p>42. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี</p><p>หักส่วนลด 63.00 %</p><p><br /></p><p>43. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี แต่ไม่เกิน 7 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 63.50 %</p><p><br /></p><p>44. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 64.00 %</p><p><br /></p><p>45. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 64.50 %</p><p><br /></p><p>46. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี6เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 65.00 %</p><p><br /></p><p>47. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี8เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 65.50 %</p><p><br /></p><p>48. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี</p><p>หักส่วนลด 66.00 %</p><p><br /></p><p>49. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 66.33 %</p><p><br /></p><p>50. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 66.67 %</p><p><br /></p><p>51. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 67.00 %</p><p><br /></p><p>52. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 67.33 %</p><p><br /></p><p>53. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 67.67 %</p><p><br /></p><p>54. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี</p><p>หักส่วนลด 68.00 %</p><p><br /></p><p>55. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี แต่ไม่เกิน 9 ปี2 เดือน</p><p>หักส่วนลด 68.33 %</p><p><br /></p><p>56. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี4 เดือน</p><p>หักส่วนลด 68.67 %</p><p><br /></p><p>57. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี6 เดือน</p><p>หักส่วนลด 69.00 %</p><p><br /></p><p>58. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี8 เดือน</p><p>หักส่วนลด 69.33 %</p><p><br /></p><p>59. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี10 เดือน</p><p>หักส่วนลด 69.67 %</p><p><br /></p><p>60. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน10 ปี</p><p>หักส่วนลด 70.00 %</p><p><br /></p><p>61. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 10 ปี</p><p><br /></p><p>--------ประเมินราคาตามสภาพรถ-----------</p><p><br /></p><p><br /></p><p>(4) หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณค่าภาษีอากร เป็นไปตามที่กรมศุลกากรประกาศกำหนดไว้ชัดเจน</p><p><br /></p><p>2.5 ตารางแสดงอัตราภาษีอากร</p><p><br /></p><p><br /></p><p><br /></p><p>ประเภทรถยนต์ ขนาดปริมาตรช่วงชักภายใน</p><p>กระบอกสูบ อากร</p><p>(%) สรรพสามิต</p><p>(%)</p><p>(ตัวคูณ) ภาษีเพื่อ</p><p>มหาดไทย*</p><p>(%) VAT</p><p>(%) อัตราอากร</p><p>รวม (%)</p><p>ของ CIF </p><p>1. รถยนต์นั่งส่วนบุคคล - ไม่เกิน 2400 ซีซี</p><p><br /></p><p><br /></p><p>- เกิน 2400 ซีซี แต่ไม่เกิน 3000 ซีซี</p><p>และมีกำลังไม่เกิน 220 แรงม้า</p><p><br /></p><p><br /></p><p>- ไม่เกิน 3000 ซีซี หรือมีกำลังเกิน</p><p>220 แรงม้า 80</p><p><br /></p><p><br /></p><p>80</p><p><br /></p><p><br /></p><p>80 35</p><p>(0.5691057)</p><p><br /></p><p>42</p><p>(0.7468124)</p><p><br /></p><p><br /></p><p>48</p><p>(1.0169492) 10</p><p><br /></p><p><br /></p><p>10</p><p><br /></p><p><br /></p><p>10 7</p><p><br /></p><p><br /></p><p>7</p><p><br /></p><p><br /></p><p>7 213.171</p><p><br /></p><p><br /></p><p>250.82</p><p><br /></p><p><br /></p><p>308.051 </p><p>2. รถยนต์นั่งตรวจการณ์</p><p>(OFF ROAD) </p><p>ตามประกาศกระทรวง-</p><p>การคลัง - ไม่เกิน 2400 ซีซี</p><p><br /></p><p><br /></p><p>- เกิน 2400 ซีซี แต่ไม่เกิน 3000 ซีซี</p><p>และมีกำลังไม่เกิน 220 แรงม้า 80</p><p><br /></p><p><br /></p><p>80 29</p><p>(0.4258443)</p><p><br /></p><p>29</p><p>(0.4258443) 10</p><p><br /></p><p><br /></p><p>10 7</p><p><br /></p><p><br /></p><p>7 182.819</p><p><br /></p><p><br /></p><p>182.819 </p><p>* ภาษีเพื่อมหาดไทยจะคิดเป็น 10 % ของภาษีสรรพสามิต</p><p>วิธีคิดอัตราอากรรวมของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลขนาดปริมา ตรช่วงชักภายในกระบอกสูบ ไม่เกิน 2400 ซีซี</p><p>ถ้าราคา CIF ของรถยนต์นั่ง </p><p>= 100 </p><p>อากรขาเข้า </p><p>= 80% </p><p>ภาษีสรรพสามิต </p><p>= 35% </p><p>ภาษีเพื่อมหาดไทย</p><p>= 10% </p><p>ภาษีมูลค่าเพิ่ม</p><p>= 7% </p><p><br /></p><p>วิธีคำนวณ</p><p>1. อากรขาเข้า = (ราคา CIF x อัตราอากรขาเข้า)</p><p>= (100 x 0.</p><p>= 80 </p><p>2. ภาษีสรรพสามิต = (ราคา CIF + อากรขาเข้า) x อัตราภาษีสรรพสามิต/ 1-(1.1 x อัตราภาษีสรรพสามิต)</p><p>= (100 + 80) x 0.35/ 1-(1.1 x 0.35)</p><p>= 180 x 0.5691057</p><p>= 102.439 </p><p>3. ภาษีเพื่อมหาดไทย = ภาษีสรรพสามิต x อัตราภาษีเพื่อมหาดไทย</p><p>= 102.439 x 0.1</p><p>= 10.2439 </p><p>4. ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม = ราคา CIF + อากรขาเข้า + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย</p><p>= 100 + 80 + 102.439 + 10.2439</p><p>= 292.6829 </p><p>5. ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม x อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม</p><p>= 292.6829 x 0.07</p><p>= 20.4878 </p><p><br /></p><p>รวมอัตราอากรทั้งหมด = 1 + 2 + 3 + 5 = 213.171 </p><p><br /></p><p><br /></p><p>2.6 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม</p><p><br /></p><p>ชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มีความประสงค์จะขอทราบรายล ะเอียดพิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลแบบถาวร สามารถติดต่อฝ่ายการนำเข้า ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้าทุกแห่งในวันและเวลาราชการ </p><p><b><span style="color: red">เอาไปอ่านดูครับ</span></b>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="noom2_2000, post: 1490634, member: 4964"]ทะเบียน รถนำเข้า มี 2 แบบ 1 จดประกอบ ซึ่งขั้นตอนยุ่งยากมาก ต้องเสียเงินหลายขั้นตอน ทั้งต้องตรวจมาตรฐานอุตสาหกรรมด้วย เฉพาะ มอก.ถ้าไม่ผ่านก็จบ เป็นเศษเหล็ก ตรวจได้ 3 ครั้ง และไปเสียภาษี สรรพสามิต และศุลกากร ก็จบ 2 จดรถเก่านำเข้า ต้องครบครองที่ญี่ปุ่น ไม่น้อยกว่า 1-2 ปี และต้องมีใบอินวอย์ ของคนที่ญี่ปุ่นส่งมาด้วย และแจ้งทางญี่ปุ่นว่าจะนำกลับมาใช้ในประเทศไทย โดยไปแจ้งที่กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร เช่นกัน เค้าจะออกใบ และคำนวนภาษีให้ก่อน ตัดสินใจว่าจะนำเข้าหรือไม่ มีการตัดค่าเสื่อมราคาให้ 3 ลักลอบ นำเข้า และให้ศุลกากรจับ แล้วจึงไปประมูลจากกลุ่มศุลกากร ขั้นตอนง่าย แต่ภาษีก็แพง อาศัย จนท. กรมศุลกากรช่วย ก็ง่าย โดยกรมศุล จะออกใบให้ไปขอเล่มทะเบียนที่ ขนส่ง ท้ายเล่มมีบันทึก ด้วยว่า เป็นรถประมูล 1. การนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลชั่วคราว รถยนต์ รถจักรยานยนต์ เรือสำราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เจ้าของนำเข้ามาพร้อมกับตนเป็นการชั ่วคราวและจะส่งกลับออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน 6 เดือนจะได้รับการยกเว้นอากรขาเข้า โดยผู้ที่ประสงค์จะนำยานพาหนะส่วนบุคคลประเภทรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เรือสำราญและกีฬา หรือเรือประมง เข้ามาพร้อมกับตนเองเป็นการชั่วคราวต้องปฏิบัติตามหล ักเกณ์และเงื่อนไขที่กรมศุลกากรกำหนดไว้ให้ครบถ้วน 1.1 เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลช ั่วคราว (1) ใบขนสินค้าพิเศษและมีสำเนา 5 ฉบับ (2) ทะเบียนยานพาหนะ (3) บัตรประจำตัวและหนังสือเดินทางของผู้ควบคุมยานพาหนะ (4) หนังสือมอบอำนาจ กรณีผู้ควบคุมยานพาหนะมิใช่เจ้าของ (5) คำร้องขอนำรถเข้ามาเพื่อการท่องเที่ยวเป็นการชั่วครา ว (6) หลักฐานการซื้อขาย เช่น Proforma Invoice, Invoice (7) สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ( สัญญาประกันการส่งกลับ (9) เอกสารอื่น ๆ (ถ้ามี) 1.2 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนำเข้าชั่วคราวยานพาหนะส่วน บุคคล (1) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าพร้อมเอกสารประกอบ ต่อฝ่ายเอกสิทธิ์และส่งเสริมการลงทุน ส่วนการนำเข้า ของสำนักงานหรือด่านศุลกากรที่นำเข้า กรณีมีสิ่งของอื่นหรือผู้โดยสารและสิ่งของติดตัวผู้โ ดยสารเข้ามาพร้อมกับยานพาหนะ ผู้นำเข้าหรือตัวแทนต้องแจ้งกรมศุลกากรด้วย (2) กรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ หากเอกสารถูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า และกำหนดวงเงินค้ำประกันสำหรับการนำเข้านั้น ๆ (3) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักประกัน (เงินสดหรือ ธนาคารค้ำประกัน) ไปชำระที่ฝ่ายบัญชีและอากร (4) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักฐานการวางประกันมาแสดงต่อเ จ้าหน้าที่ศุลกากร (5) กรมศุลกากรจะตรวจยานพานะและสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว จะมอบสำเนาใบขนสินค้าพิเศษ ให้ผู้นำเข้าไว้ 1 ฉบับ เพื่อใช้กำกับยานพาหนะและแสดงต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเ มื่อนำยานพาหนะออกไปนอกประเทศไทย 1.3 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการส่งออกยานพาหนะส่วนบุคคล (1) ผู้ส่งออกยื่นใบขนสินค้าพิเศษที่กรมศุลกากรออกให้ขณะ นำเข้าและสำเนา 1 ฉบับ พร้อมกับแบบธุรกิจต่างประเทศ (ธ.ต.1) 1 ฉบับ แก เจ้าหน้าที่ศุลกากร (2) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแล้วจะถอนประกันทัณฑ์บนที่ผู้นำเข้าทำ ไว้กับกรมศุลกากรขณะนำเข้า 1.4 ข้อควรทราบในการนำเข้าชั่วคราวยานพาหนะส่วนบุคคล (1) หากผู้นำเข้าไม่นำรถกลับออกไปในระยะเวลาที่กำหนดไว้ใ นสัญญาประกันทัณฑ์บน กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาทัณฑ์บนเต็มจำนวนที่กำหนดไว้ โดยไม่มีการลดหย่อนทั้งสิ้น (2) กรณีผู้นำเข้าต้องการขอขยายเวลาการนำรถออกนอกประเทศไ ทยตามที่ระบุไว้ในสัญญาประกันทัณฑ์บน ก็สามารถขอขยายเวลากับกรมศุลกากรได้อีกแต่ไม่เกิน 6 เดือน เว้นแต่ในกรณีที่จำเป็น เช่น เครื่องยนต์เสีย หรือรถยนต์ถูกชนต้องเสียเวลาในการซ่อม ก็อาจขยายเวลาออกไปให้เกินกว่า 6 เดือนได้ แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 8 เดือน นับแต่วันนำเข้า (3) การประกันและการค้ำประกัน ผู้นำเข้าสามารถวางประกันด้วยเงินสด หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคาร แต่สำหรับรถจักรยานยนต์ที่นักท่องเที่ยวชาวต่างประเท ศนำเข้าทางสำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ สำนักงานศุลกากรกรุงเทพ สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ ให้ค้ำประกันตนเองได้ ในกรณีที่ผู้นำเข้าไม่สามารถจะวางประกันด้วยเงินสด หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารได้จริงๆ กรมศุลกากรก็อาจพิจารณาอนุมัติให้ผู้นำเข้าค้ำประกัน ตนเองได้ การกำหนดเงินประกันและเงินค้ำประกัน กรมศุลกากรจะกำหนดโดยถือตามราคาบวกค่าภาษีอากรทุกประ เภทของรถที่นำเข้าเป็นยอดเงินประกัน (4) การบังคับตามสัญญาประกัน เมื่อครบกำหนดตามที่ระบุไว้ในสัญญาประกัน หรือผู้นำของเข้าได้แสดงความจำนงก่อนครบกำหนดดังกล่า วว่าไม่ประสงค์จะนำรถกลับออกไป กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาประกันเต็มตามจำนวนที่กำหนดไ ว้โดยไม่มีการลดหย่อนใดๆ ทั้งสิ้น ในกรณีที่มีผู้นำรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์เข้ามาในประเทศทางเขตแดนทางบกเป็นก ารชั่วคราวและจะนำกลับออกไป แต่นำกลับออกไปไม่ทันภายในเวลาที่กำหนดตามที่ระบุไว้ ในสัญญาประกัน โดยไม่มีเจตนาฝ่าฝืนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าปรับวันละ 100 บาท นับจากวันที่ครบกำหนดในสัญญาประกัน แต่ไม่เกิน 1,000 บาท ในกรณีที่ผู้นำเรือเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคร าว และจะนำกลับออกไป แต่นำกลับออกไปไม่ทันภายในเวลาที่กำหนดตามที่ระบุไว้ ในสัญญาประกัน โดยไม่มีเจตนาฝ่าฝืนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าปรับวันละ 500 บาท นับจากวันที่ครบกำหนดในสัญญาประกัน แต่ไม่เกิน 5,000 บาท (5) คำว่า “เรือสำราญและกีฬา” หมายถึง เรือที่ใช้สำหรับหาความสำราญ หรือเรือที่ใช้เพื่อการเล่นกีฬาโดยเฉพาะ และไม่ได้ใช้เพื่อการค้า การทหาร หรือการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร ์เรือสำราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เข้ามาจากต่างประเ ทศนั้น นายเรือจะต้องมารายงานเรือเข้าเช่นเดียวกับเรือทั้งห ลายที่มาจากต่างประเทศ ส่วนเรือสำราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เดินทางไปต่างป ระเทศ จะต้องยื่นใบสำแดงรายงานเรือออก และขอรับใบปล่อยเรือขาออกจากกรมศุลกากรด้วย 1.5 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มีความประสงค์จะขอทราบรายล ะเอียดพิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลชั่วคราว สามารถติดต่องานพิธีการ ฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนพิธีการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือ ฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนพิธีการนำเข้า สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้าทุกแห่งในวันและเวลาราชการ 2. การนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลแบบถาวรการนำเข้ารถยนต์ส่ วนบุคคลหากในลักษณะนี้ผู้นำเข้าจะต้องชำระค่าภาษีอาก รตามปกติ หากเป็นรถยนต์ใหม่ก็ให้ปฏิบัติพิธีการนำเข้าเช่นเดีย วกับการนำเข้าสินค้าอื่น ๆ แต่หากเป็นรถยนต์นั่งเก่าใช้แล้วจะถือเป็นสินค้าควบค ุมการนำเข้ามาในประเทศไทย ในหลักการไม่อนุญาตให้นำเข้า เว้นแต่เป็นการนำเข้าชั่วคราวหรือการนำเข้าเฉพาะตัวท ี่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงพาณิชย์กำหนดไว้เท่าน ั้น 2.1 หลักเกณฑ์การนำเข้ารถยนต์นั่งเก่าใช้แล้วแบบถาวร (1) นำเข้ามาใช้ได้เองเพียงคนละ 1 คัน (2) กรณีเป็นชาวต่างประเทศจะต้องเป็นผู้ที่จะเข้ามาอยู่ใ นประเทศไทยไม่ต่ำกว่า 1 ปี โดยมีหนังสืออนุญาตการเข้าเมืองจากกองตรวจคนเข้าเมือ ง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และใบอนุญาตทำงานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมม าแสดงในการนำเข้าด้วย (3) กรณีชาวไทยมีคู่สมรสเป็นชาวต่างประเทศ จะต้องมีหลักฐานแสดงว่าเป็นคู่สมรสและนำรถยนต์เข้ามา เพื่อมีภูมิลำเนาในประเทศไทย รวมทั้งผู้นำเข้าต้องถือกรรมสิทธิ์หรือครอบครองรถยนต ์คันนั้นระหว่างอยู่ในต่างประเทศไม่น้อยกว่า 1 ปี 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์จนถึ งวันที่เดินทางเข้ามาอยู่ในประเทศไทย (4) กรณีเป็นชาวไทย ต้องเป็นชาวไทยที่ไปอยู่ต่างประเทศติดต่อกันเป็นเวลา เกินกว่า 1 ปี 6 เดือน แล้วเดินทางกลับมามีภูมิลำเนาในประเทศไทย และถือกรรมสิทธิ์ครอบครองรถยนต์คันนั้นอยู่ในระหว่าง อยู่ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 1 ปี 6 เดือนและมีใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ 2.2 เอกสารที่ควรจัดเตรียมการนำเข้ารถยนต์แบบถาวร (1) เอกสารทั่วไป ใบขนสินค้าขาเข้า ประกอบด้วยต้นฉบับและสำเนา 1 ฉบับ ใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading or Air Waybill) เอกสารการซื้อขายรถยนต์ (ถ้ามี) ใบสั่งปล่อยสินค้า (กศก.100/1) แบบธุรกิจต่างประเทศ (Foreign Transaction Form) กรณีสินค้านำเข้ามีราคา CIFเกิน 500,000 บาท ใบแจ้งยอดเบี้ยประกัน (Insurance Premium Invoice) เอกสารอื่น ๆ เช่น หนังสือมอบอำนาจ (2) เอกสารเพิ่มเติมกรณีเป็นรถยนต์เก่าใช้แล้ว ทะเบียนบ้านและบัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง กรณีย้ายภูมิลำเนา ทะเบียนรถยนต์ที่จดทะเบียนการใช้งานที่ต่างประเทศมาแ ล้ว ใบอนุญาตการนำเข้าจากกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 2.3 ขั้นตอนปฏิบัติพิธีการ (1) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนยื่นใบขนสินค้าพร้อมเอกสารประกอบ ต่อฝ่ายการนำเข้าที่ 4 ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้า (2) กรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ หากเอกสารถูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้า และประเมินค่าภาษีอากรที่ผู้นำเข้าจะต้องชำระ (3) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนไปชำระเงินค่าภาษีอากรที่ฝ่ายบัญ ชีและอากร (4) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนนำหลักฐานการชำระเงินมาแสดงต่อเจ ้าหน้าที่ส่วนตรวจสินค้าเพื่อรับของออกจากอารักขาศุล กากร 2.4 หลักเกณฑ์การประเมินอากร (1) กรมศุลกากรกำหนดเกณฑ์การประเมินราคาโดยใช้ราคา CIF ( ราคา + ค่าประกันภัย+ค่าขนส่ง ) เป็นฐานการประเมินอากรนำเข้า (2) ราคารวมค่าภาษี เป็นราคาที่รวมการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพ สามิต ( ถ้ามี ) เข้าไว้ ณ. วันที่ชำระค่าภาษีรถยนต์ (3) กรณีที่เป็นรถยนต์เก่าใช้แล้ว จะกำหนดส่วนลดตามระยะเวลาที่จดทะเบียนให้ ดังนี้ อัตราส่วนลดราคารถยนต์นั่งใช้แล้ว 1. จดทะเบียนใช้แล้วไม่เกิน2 เดือน หักส่วนลด 2.50% 2. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน หักส่วนลด 5.00% 3. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน หักส่วนลด 7.50% 4. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 8 เดือน หักส่วนลด 10.00 % 5. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 เดือน แต่ไม่เกิน 10 เดือน หักส่วนลด 12.50 % 6. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 10 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี หักส่วนลด 15.00 % 7. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 1ปี2 เดือน หักส่วนลด 16.67 % 8. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี4 เดือน หักส่วนลด 18.33 % 9. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี6 เดือน หักส่วนลด 20.00 % 10. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 1 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี8 เดือน หักส่วนลด 21.67 % 11. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า1 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี10 เดือน หักส่วนลด 23.33 % 12. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า1 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 2 ปี หักส่วนลด 25.00 % 13. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี แต่ไม่เกิน 2ปี2 เดือน หักส่วนลด 26.67 % 14. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี4 เดือน หักส่วนลด 28.33 % 15. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี6 ดือน หักส่วนลด 30.00 % 16. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี8 เดือน หักส่วนลด 31.67 % 17. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า2 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 2ปี10 เดือน หักส่วนลด 33.33 % 18. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 2 ปี10 เดือนแต่ไม่เกิน 3 ปี หักส่วนลด 35.00 % 19. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี2 เดือน หักส่วนลด 36.67 % 20. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี4 เดือน หักส่วนลด 38.33 % 21. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 3ปี6 เดือน หักส่วนลด 40.00 % 22. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี8 เดือน หักส่วนลด 41.67 % 23. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี10 เดือน หักส่วนลด 43.33 % 24. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า3 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี หักส่วนลด 45.00 % 25. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี แต่ไม่เกิน 4 ปี2 เดือน หักส่วนลด 46.67 % 26. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี4 เดือน หักส่วนลด 48.33 % 27. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน4 ปี6 เดือน หักส่วนลด 50.00 % 28. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี8 เดือน หักส่วนลด 51.67 % 29. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 4 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 4 ปี10 เดือน หักส่วนลด 53.33 % 30. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า4 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน5 ปี หักส่วนลด 55.00 % 31. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า5 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี2 เดือน หักส่วนลด 55.83 % 32. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี4 เดือน หักส่วนลด 56.67 % 33. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี6 เดือน หักส่วนลด 57.50 % 34. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี8 เดือน หักส่วนลด 58.33 % 35. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า5 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 5 ปี10 เดือน หักส่วนลด 59.17 % 36. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 5 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี หักส่วนลด 60.00 % 37. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี2 เดือน หักส่วนลด 60.50 % 38. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี4 เดือน หักส่วนลด 61.00 % 39. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี6 เดือน หักส่วนลด 61.50 % 40. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 6 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี8 เดือน หักส่วนลด 62.00 % 41. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 6 ปี10 เดือน หักส่วนลด 62.50 % 42. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า6 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี หักส่วนลด 63.00 % 43. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี แต่ไม่เกิน 7 ปี2 เดือน หักส่วนลด 63.50 % 44. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี4 เดือน หักส่วนลด 64.00 % 45. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า7 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี6 เดือน หักส่วนลด 64.50 % 46. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี6เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี8 เดือน หักส่วนลด 65.00 % 47. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี8เดือน แต่ไม่เกิน 7 ปี10 เดือน หักส่วนลด 65.50 % 48. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 7 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี หักส่วนลด 66.00 % 49. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี2 เดือน หักส่วนลด 66.33 % 50. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี4 เดือน หักส่วนลด 66.67 % 51. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี6 เดือน หักส่วนลด 67.00 % 52. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี8 เดือน หักส่วนลด 67.33 % 53. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 8 ปี10 เดือน หักส่วนลด 67.67 % 54. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 8 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี หักส่วนลด 68.00 % 55. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี แต่ไม่เกิน 9 ปี2 เดือน หักส่วนลด 68.33 % 56. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี2 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี4 เดือน หักส่วนลด 68.67 % 57. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี4 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี6 เดือน หักส่วนลด 69.00 % 58. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี6 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี8 เดือน หักส่วนลด 69.33 % 59. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี8 เดือน แต่ไม่เกิน 9 ปี10 เดือน หักส่วนลด 69.67 % 60. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 9 ปี10 เดือน แต่ไม่เกิน10 ปี หักส่วนลด 70.00 % 61. จดทะเบียนใช้แล้วเกินกว่า 10 ปี --------ประเมินราคาตามสภาพรถ----------- (4) หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณค่าภาษีอากร เป็นไปตามที่กรมศุลกากรประกาศกำหนดไว้ชัดเจน 2.5 ตารางแสดงอัตราภาษีอากร ประเภทรถยนต์ ขนาดปริมาตรช่วงชักภายใน กระบอกสูบ อากร (%) สรรพสามิต (%) (ตัวคูณ) ภาษีเพื่อ มหาดไทย* (%) VAT (%) อัตราอากร รวม (%) ของ CIF 1. รถยนต์นั่งส่วนบุคคล - ไม่เกิน 2400 ซีซี - เกิน 2400 ซีซี แต่ไม่เกิน 3000 ซีซี และมีกำลังไม่เกิน 220 แรงม้า - ไม่เกิน 3000 ซีซี หรือมีกำลังเกิน 220 แรงม้า 80 80 80 35 (0.5691057) 42 (0.7468124) 48 (1.0169492) 10 10 10 7 7 7 213.171 250.82 308.051 2. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ (OFF ROAD) ตามประกาศกระทรวง- การคลัง - ไม่เกิน 2400 ซีซี - เกิน 2400 ซีซี แต่ไม่เกิน 3000 ซีซี และมีกำลังไม่เกิน 220 แรงม้า 80 80 29 (0.4258443) 29 (0.4258443) 10 10 7 7 182.819 182.819 * ภาษีเพื่อมหาดไทยจะคิดเป็น 10 % ของภาษีสรรพสามิต วิธีคิดอัตราอากรรวมของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลขนาดปริมา ตรช่วงชักภายในกระบอกสูบ ไม่เกิน 2400 ซีซี ถ้าราคา CIF ของรถยนต์นั่ง = 100 อากรขาเข้า = 80% ภาษีสรรพสามิต = 35% ภาษีเพื่อมหาดไทย = 10% ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 7% วิธีคำนวณ 1. อากรขาเข้า = (ราคา CIF x อัตราอากรขาเข้า) = (100 x 0. = 80 2. ภาษีสรรพสามิต = (ราคา CIF + อากรขาเข้า) x อัตราภาษีสรรพสามิต/ 1-(1.1 x อัตราภาษีสรรพสามิต) = (100 + 80) x 0.35/ 1-(1.1 x 0.35) = 180 x 0.5691057 = 102.439 3. ภาษีเพื่อมหาดไทย = ภาษีสรรพสามิต x อัตราภาษีเพื่อมหาดไทย = 102.439 x 0.1 = 10.2439 4. ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม = ราคา CIF + อากรขาเข้า + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย = 100 + 80 + 102.439 + 10.2439 = 292.6829 5. ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม x อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม = 292.6829 x 0.07 = 20.4878 รวมอัตราอากรทั้งหมด = 1 + 2 + 3 + 5 = 213.171 2.6 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มีความประสงค์จะขอทราบรายล ะเอียดพิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคลแบบถาวร สามารถติดต่อฝ่ายการนำเข้า ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรนำเข้าท่าเรือกรุงเทพ หรือฝ่ายเอกสิทธิและส่งเสริมการลงทุน ส่วนการนำเข้า สำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ หรือสำนักงาน/ด่านศุลกากรที่นำเข้าทุกแห่งในวันและเวลาราชการ [B][COLOR="red"]เอาไปอ่านดูครับ[/COLOR][/B][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
รถนำเข้าจากญี่ปุ่น จดทะเบียนใหม่ คุ้มไหมครับ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...