เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
EG 3D Club
>
D.I.Y ทำเองได้ ถ้าใจต้องการ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="Mye, post: 40267, member: 371"]<span style="color: Pink">ความรู้เรื่องอุปกรณ์เสริม ......Roll bar ..... By ดามัน</span></p><p><br /></p><p>อันนี้ เรื่อง Roll bar สาระดีมากๆ คนที่คิดจะติดน่าอ่านเอาไว้บ้างน๊ะ เราเห็นว่ามีประโยชน์ดีมาก </p><p>เลยเอามาเผื่อแผ่ นิดๆหน่อยๆ </p><p><br /></p><p><span style="color: Yellow">PART I</span></p><p><br /></p><p>ถ้าเป็นแบบเชื่อมตาย จะดีที่สุดเพราะสามารถรับแรงและกระจ่ายแรงต่างๆที่เกิดขึ้นได้</p><p>ทั้งนี้ต้องอยู่ที่รูปแบบการไข้วและจุดต่อต่างๆด้วย ดูได้จากรถแรลลี่ ซึ่งส่วนมากจะเป็นแบบเชื่อมตายและมีหลายจุดมาก </p><p>แต่ข้อเสียของแบบเชื่อตายก็คือจะยึดติดกับบอดี้ ของตัวรถไปเลย และการเชื่อข้อต่อนั้นจะมีสะเก็ดไฟจากการเชื่อม ซึ่งหากไม่ได้ ทำการรื้อ ภายในรถยนต์ ก็จะทำให้การสร้าง roll bar แบบยึดตายนั้นกระทำโดยได้ยาก และไหนจะเรื่องของสีโรลบาร์อีก จึงได้มีการออกแบบ roll bar แบบถอดได้ เพื่อมาใช้อีกรูปแบบนึง ซึ่งการใช้โรลบาร์แบบข้อต่อ นั้นสะดวกตรงที่สามารถถอดออกได้ </p><p>roll bar แบบข้อต่อถ้าให้ตัว หรือ สามรถเคลื่อนได้ เมื่อเกิดแรงกด คงไม่ถือว่าสามารถใช้งานได้ดี</p><p>นึกง่ายๆ ใส่ค้ำโช้คหน้า แต่สามารถให้ตัวหรือเคลื่อนได้ จะใส่ไปเพื่ออะไรในเมื่อมันเคลื่นได้ ก็เท่ากับว่ามันไม่ได้ค้ำอยู่ ฉะนั้นหากเกิด แรงปะทะ จากการใช้งานจริงๆ ความสามารถในการรับแรง ก็คงจะไม่สามารถใช้งานได้ 100% </p><p>วิธีการแก้ไขนั้นก็คือ ย้ายตำแหน่ง การเชื่อม จุดตรงข้อต่อ ให้เชื่อมไปในทิศทางที่ไม่ตรงกำลังแรงกด ซึ่งจะทำให้เคลื่อนที่ได้ </p><p>เพราะอย่างน้อยนั้น roll bar หรือ roll gage นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ สามารถ ช่วยชีวิตได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น</p><p>ต้องอยู่ที่อุปกรณ์ safety อื่นๆอีกด้วย นั้นหมายถึงต้องมี การหุ้มตัว roll bar ด้วยวัสดุซับแรง </p><p>หรือสวมหมวกนิรภัย ( หมวกกันน๊อค ) เพื่อกันศรีษะกระแทกกับ roll bar อีกด้วย </p><p>การทำ roll bar ถ้าต้องการทำเพื่อความสวยงาม นั้นจะทำในรูปแบบไหนก็ได้ </p><p>แต่ผู้ที่ทำ roll bar นั้นควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ มีความรู้อยู่บ้าง และสามารถให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่จะทำได้ อย่างถูกหลักและถูกต้อง </p><p><br /></p><p><span style="color: pink">ขอขอบคุณข้อมูล จาก คนช่างคิด เช่นกัน </span></p><p><br /></p><p><span style="color: yellow">PART II</span></p><p><br /></p><p>ในทางโครงสร้างที่เป็นท่อหรือคานเพื่อที่จะรับแรงโดยที่น้ำหนักน้อยที่สุดก็มักจะทำการต่อท่อให้อยู่ในรูปแบบของ Tetrahedron (สามเหลี่ยมสี่หน้า)ต่อกันไปเรื่อยๆตามแต่จะต้องการ ซึ่งหมายความง่ายๆว่าจุดเชื่อมต่างๆของท่อจะมารวมกันที่จุดๆเดียว ซึ่งควรจะมีตั้งแต่สามท่อขึ้นไปและไม่เอาปลายท่อใดไปอยู่ตรงส่วนกลางของท่ออื่นๆ เพื่อที่ว่าโครงสร้างนั้นจะรับแรงดึงและแรงอัดเป็นหลัก (เป็น Space Thrust)</p><p>รูปแบบการใช้น๊อตเป็นตัวยึดนั้นทำให้ข้อต่อต่างๆรับแรงบิดไม่ได้ (รับ Moment ไม่ได้เพราะเป็น Ball-Joint หรือ Pin-Joint) ซึ่งรูปแบบนี้อาจจะโอเคถ้าสามารถต่อกันจนเป็นสามเหลี่ยมสี่หน้าที่สมบูรณ์ได้ แต่ในความเป็นจริงมันทำไม่ได้เพราะโครงสร้างหลักของรถมันจำกัดเอาไว้ ดังนั้นรูปแบบที่เหมาะกว่าจึงเป็นรูปแบบการเชื่อมท่อต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อที่ข้อต่อเหล่านั้นจะได้รับแรงบิดได้ด้วย</p><p>จากรูปที่นำมาให้ดูเป็นข้อต่อแบบ Pin-Joint Bracket ซึ่งรับแรงบิดไม่ได้ รับได้แค่แรงดึงและแรงอัด(ซึ่งมักถูกกำหนดโดยชิ้นส่วนที่แข็งแรงน้อยที่สุด คือ น๊อตตัวผู้ที่รับแรงเฉือน) ความแข็งแรงก็เป็นรองพวกที่ใช้เชื่อม แต่ถ้าเป็นข้อต่อแบบ Saddle Bracket ก็จะรับแรงบิดที่ข้อต่อได้บ้าง (เพราะทั้ง Saddle และ น๊อตตัวผู้รับแรงบิดไป) แต่โดยมาก Roll Bar ในไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีแบบไหนเป็นแบบ Saddle Bracket มักจะเป็นแบบ Pin-Joint Bracket กันหมดอาจจะเป็นเพราะทำง่ายกว่า และยิ่งใช้ในรถบ้านด้วยแล้วเรื่อง Roll Bar แบบข้อต่อเชื่อมคงแทบเป็นไปไม่ได้ นอกจากว่าจะเป็นแบบครึ่งคันซึ่งมาเชื่อมนอกรถแล้วเอาไปยึดน๊อตลงพื้นรถทีหลัง</p><p>โดยสรุปแบบสั้นๆที่สุด พวกที่ใช้น๊อตจะไม่แข็งแรงเท่าแบบเชื่อม(เพราะข้อต่อรับแรงบิดไม่ได้ นอกจากแบบ Saddle Bracket)</p><p>ส่วนที่ว่าเปลี่ยนมุมการยึดนั้น ผมไม่คิดว่ามันจะช่วยได้ เพราะว่าเราไม่ทราบได้เลยว่าที่จุดยึดนั้น มีแรงบิดแบบไหนเกิดขึ้นบ้าง หรือว่าแรงบิดรอบแกนนึงมากหรือน้อยกว่าอีกรอบแกนนึง (ลองจินตนาการดูว่าที่ข้อต่อหนึ่งๆนั้นต้องรับแรงบิดอย่างต่ำ 3 แรงบิด คือ Mx My และ Mz โดย X, Y และ Z เป็นแกนที่ผ่านจุดนั้นๆ) ในกรณีที่โครงสร้างรับแรงแบบต่างๆกันไป เช่น เลี้ยวโค้งซ้าย เลี้ยวโค้งขวา อยู่กลางโค้งพวงมาลัยตรงแต่ล้อด้านในโค้งปีนขาวแดงตัวรถลอยบ้างไม่ลอยบ้าง ขับทางตรงๆไม่ได้โค้งแต่ล้อนึงตกหลุมหรือเหยียบก่อนกรวด ฯลฯ</p><p>ถ้าจะใส่ Roll Bar นั้นเราไม่ต้องการให้บิดตัวหรือให้ตัวได้ครับ ยิ่งแข็งแรง(Strength) และแกร่ง (Stiff) เท่าไหร่ยิ่งดี โดยแข็งแรงเพื่อให้ทนต่อการกระแทกเวลาเกิดอุบัติเหตุ และแกร่งเพื่อให้รถมี Handling ที่ดี ที่บอกๆกันว่าโครงสร้างรถนั้นต้องให้ตัวได้นิดหน่อย หรือแข็งเกินไปนั้นไม่มีครับ</p><p>ลองดู Saddle Bracket หน่อยแล้วกัน อันนี้เป็นของ Safety Devices</p><p><br /></p><p><img src="http://www.safetydevices.com/images/products/rollcages/step3_boltin_cage_terminoli.gif" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" /></p><p><br /></p><p><span style="color: pink">ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ GoogGoo </span></p><p><br /></p><p><span style="color: yellow">PART III</span></p><p><br /></p><p>ก่อนอื่นต้องมองก่อนว่า มีจุดประสงค์เอาไว้เพื่อทำอะไร</p><p><br /></p><p>ถ้ามองเรื่องป้องกันการคว่ำ แบบ 4-6 จุดที่ยังยึดด้วยนีอตก็โอเคครับ ถึงยึดด้วยน๊อตก็ยังรับแรงกระแทกกันยุบจากการคว่ำได้ มีดีกว่าไม่มี . . . สำหรับรถถนน ก้ทำได้ประมาณนี้แหละ จะบอกว่าแค่เอาเท่ห์ก็ไม่ใช่ มันยังมีประโยชน์ตามหน้าที่ของมันอยู่ . . . สำหรับระดับรถถนน Stiffness ยังไม่เป็นสิ่งที่จำเป็นมากนัก นั่งรำคายตายเลย ถ้าขืนดามหมด มันเลยเถิดเกินขอบเขตรถถนนแล้วหละ</p><p>แต่ถ้าต้องการเอาไว้ดามตัวถังเพิ่ม Stiffness . . . โอเค ถ้าต้องการแบบนี้ การยึดน๊อตถือว่าได้ประโยชน์ในวัตถุประสงค์นี้น้อยลงมาก (ยังมีนะครับ ไม่ถึงกับไม่มีเลย ยิ่งถ้ามีเกิน 4 จุด หรือมีตัวไข้วขวางอยู่ ถึงแม้ยึดด้วยน๊อตก็ยังแข็งขึ้นครับ เพราะจุดที่มันจะบิดมันก็งัดกันเอง บิดยากขึ้นครับถึงแม้จะยึดน๊อต) . . . ถ้าต้องการความแข็ง ก็ต้องเชื่อม (เชื่อมไม่เฉพาะจุดที่ท่อชนกัน ต้องเชื่อมลงที่ตัวถังด้วย รวมถึงเชื่อมไปที่เสาหน้าและเสาข้างด้วย) และออกแบบเป็น Triangle จะรับแรงได้มากที่สุดจากน้ำหนักท่อเหล็กที่ใช้เท่าๆกัน</p><p>รถแข่งทำไปเลยครับ แบบแข็งสุดๆ(Stiff) โดยไม่หนักเกินไป . . รถแข่งไม่ต้องการการบิดตัวของตัวถัง ตัวถังบิดได้ ความสามารถ ความแม่นยำของช่วงล่างที่ออกแบบมาดีๆก้หายไปนิดนึง เพราะปล่อยให้ตัวถังทำงานแทนช่วงล่าง</p><p>แต่ถึงแม้จะเชื่อมจะแข็ง ก็ไม่ใช่จะไม่บิดนะครับ ยังบิดได้ทั้งนั้นแหละครับ เอาไปขึ้น Jig ดูก็ยังมีบิดบ้างครับ . . นอกจากจะโคตรดามสารพัด จนหนักระเบิด แบบนี้อาจไม่บิด</p><p><br /></p><p><span style="color: pink">ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ บุคคลทั่วไป อีกแล้ว</span></p><p><br /></p><p><span style="color: yellow">PART IV</span></p><p><br /></p><p>การใช้น๊อตเป็นตัวยึดจุดเชื่อมต่อ ก็ถือว่าเพียงพอและแข็งแรง ใช้ได้ในระดับหนึ่งแล้วครับ แต่การใช้น๊อตจะต้องขันให้แน่น เพื่อที่จะสมมติว่าโครงสร้างที่ต่อกันนั้น เป็นโครงสร้างชิ้นเดียวกัน ......พื้นฐานการทำโรลบารก็คือการคุ้มครองความปลอดภัยให้กับผู้โดยสาร โดยสมมติฐานว่ามีแรงมากระทำในลักษณะต่างๆ เช่นแรงกระแทกด้านข้าง(จากการชน).... หรือแรงกระแทกจากด้านบน (จากการพลิกคว่ำ) เมื่อเรารู้ลักษณะทิศทางของแรงแล้ว เราจึงมากำหนดออกแบบ ลักษณะของโรลบาร์เพื่อให้สอดคล้อง (ต้านทาน) กับแรงที่มากระทำนั้นๆ นั่นจึงมีที่มาของโรลบาร์แบบ ต่างๆ เช่น ๖ จุด ๘ จุด ๑๒ จุดเป็นต้น.....</p><p>เมื่อได้ลักษณะของโรลบาร์ในรูปแบบต่างๆแล้ว เราจะเห็นว่า มันจำเป็นจะต้องมีชิ้นส่วนต่างๆมาต่อยึดเชื่อมกันในลักษณะ ๒ แกน ( X / Y ) บ้าง...... ๓ แกน ( X / Y / Z )บ้าง ขั้นตอนตรงนี้ แหละคือที่มาของการต่อชิ้นส่วนโรลบาร์แบบเชื่อม หรือ แบบน็อต</p><p>- แบบเชื่อม ดีที่สุด เพราะ ทำให้วัสดุชิ้นส่วนของโรลบาร์ ๒ ชิ้น มีคุณลักษณะในการรับแรงเปรียบเสมือน วัสดุชิ้นเดียวกัน.....สามารถ รับ / ถ่ายแรงที่มากระทำ ซึ่งกันและกัน ๑๐๐ % เต็ม แต่ความเป็นไปได้ ในการสร้างโรลบาร์แบบนี้ มีมากน้อย แค่ใหน จำเป็นไหมที่จะต้องทำแบบนี้</p><p>- แบบน๊อต ไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุด แต่เมื่อคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ขั้นตอน วิธีการสร้าง เงื่อนใขเรื่องสถานที่ รวมทั้งความแข็งแรงในทางวิศวกรรมแล้ว ค่อนข้างจะลงตัวที่สุด..... </p><p><br /></p><p>......ความแข็งแรงในทางวิศวกรรมก็คือ ชิ้นส่วนนั้นๆสามารถ ต้านทาน ต่อหน่วยแรง ที่มากระทำ โดยเราอาจจะสมมติ หน่วยแรงขึ้นมาจำนวนหนึ่ง เพื่อที่จะคำนวณหาขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนโรลบาร์ โดยคำนึงถึงแรงดึง / แรงอัด /แรงเฉือน รวมทั้งโมเมนต์ดัด เป็นต้น ขั้นตอนนี้เราก็จะได้ ขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนที่จะทำโรลบาร์ เช่น 1/2 นิ้ว.... 1" นิ้ว..... 11/2 นิ้ว </p><p>......อย่างที่กล่าวข้างต้น ว่าโครงสร้างของโรลบาร์ มักจะต้องมีชิ้นส่วนอย่างน้อย ๒ ชิ้น มาต่อเชื่อมกันในลักษณะของแกน X กับ Y เป็นอย่างน้อย เราจึงจำเป็นจะต้องสร้างรอยต่อนั้นๆ ให้เพียงพอสำหรับการรับแรงที่เกิดขึ้นในรอยต่อ (แรงที่รอยต่อก็จะถ่ายมาจาก แรงในชิ้นส่วนของโรลบาร์) ขั้นตอนนี้ผู้รู้เขาจะทราบเองว่า จะทำรอยต่อแบบใหน เพียงพอที่จะ รับแรง/ต้านทาน แรง ที่เกิดขึ้น ตรงรอยต่อนั้นๆ โดยส่วนมากแล้ว แรงตรงรอยต่อของโรลบาร์ เราจะนำมาคิดแค่ แรงดึง / แรงอัด และแรงเฉือนเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องเอา โมเมนต์ (บวก/ลบ) มาคิดแต่อย่างใด เมื่อไม่เอาโมเมนต์มาคิดที่รอยต่อ เราก็ไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการเชื่อมก็ได้ ใช้น็อตเป็นตัวยึดโครงสร้างก็เพียงพอแล้วสำหรับการรับแรงดึง/อัด/เฉือน</p><p><br /></p><p><span style="color: Pink">ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ LADDER 49 </span>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="Mye, post: 40267, member: 371"][COLOR="Pink"]ความรู้เรื่องอุปกรณ์เสริม ......Roll bar ..... By ดามัน[/COLOR] อันนี้ เรื่อง Roll bar สาระดีมากๆ คนที่คิดจะติดน่าอ่านเอาไว้บ้างน๊ะ เราเห็นว่ามีประโยชน์ดีมาก เลยเอามาเผื่อแผ่ นิดๆหน่อยๆ [COLOR="Yellow"]PART I[/COLOR] ถ้าเป็นแบบเชื่อมตาย จะดีที่สุดเพราะสามารถรับแรงและกระจ่ายแรงต่างๆที่เกิดขึ้นได้ ทั้งนี้ต้องอยู่ที่รูปแบบการไข้วและจุดต่อต่างๆด้วย ดูได้จากรถแรลลี่ ซึ่งส่วนมากจะเป็นแบบเชื่อมตายและมีหลายจุดมาก แต่ข้อเสียของแบบเชื่อตายก็คือจะยึดติดกับบอดี้ ของตัวรถไปเลย และการเชื่อข้อต่อนั้นจะมีสะเก็ดไฟจากการเชื่อม ซึ่งหากไม่ได้ ทำการรื้อ ภายในรถยนต์ ก็จะทำให้การสร้าง roll bar แบบยึดตายนั้นกระทำโดยได้ยาก และไหนจะเรื่องของสีโรลบาร์อีก จึงได้มีการออกแบบ roll bar แบบถอดได้ เพื่อมาใช้อีกรูปแบบนึง ซึ่งการใช้โรลบาร์แบบข้อต่อ นั้นสะดวกตรงที่สามารถถอดออกได้ roll bar แบบข้อต่อถ้าให้ตัว หรือ สามรถเคลื่อนได้ เมื่อเกิดแรงกด คงไม่ถือว่าสามารถใช้งานได้ดี นึกง่ายๆ ใส่ค้ำโช้คหน้า แต่สามารถให้ตัวหรือเคลื่อนได้ จะใส่ไปเพื่ออะไรในเมื่อมันเคลื่นได้ ก็เท่ากับว่ามันไม่ได้ค้ำอยู่ ฉะนั้นหากเกิด แรงปะทะ จากการใช้งานจริงๆ ความสามารถในการรับแรง ก็คงจะไม่สามารถใช้งานได้ 100% วิธีการแก้ไขนั้นก็คือ ย้ายตำแหน่ง การเชื่อม จุดตรงข้อต่อ ให้เชื่อมไปในทิศทางที่ไม่ตรงกำลังแรงกด ซึ่งจะทำให้เคลื่อนที่ได้ เพราะอย่างน้อยนั้น roll bar หรือ roll gage นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ สามารถ ช่วยชีวิตได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องอยู่ที่อุปกรณ์ safety อื่นๆอีกด้วย นั้นหมายถึงต้องมี การหุ้มตัว roll bar ด้วยวัสดุซับแรง หรือสวมหมวกนิรภัย ( หมวกกันน๊อค ) เพื่อกันศรีษะกระแทกกับ roll bar อีกด้วย การทำ roll bar ถ้าต้องการทำเพื่อความสวยงาม นั้นจะทำในรูปแบบไหนก็ได้ แต่ผู้ที่ทำ roll bar นั้นควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ มีความรู้อยู่บ้าง และสามารถให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่จะทำได้ อย่างถูกหลักและถูกต้อง [COLOR="pink"]ขอขอบคุณข้อมูล จาก คนช่างคิด เช่นกัน [/COLOR] [COLOR="yellow"]PART II[/COLOR] ในทางโครงสร้างที่เป็นท่อหรือคานเพื่อที่จะรับแรงโดยที่น้ำหนักน้อยที่สุดก็มักจะทำการต่อท่อให้อยู่ในรูปแบบของ Tetrahedron (สามเหลี่ยมสี่หน้า)ต่อกันไปเรื่อยๆตามแต่จะต้องการ ซึ่งหมายความง่ายๆว่าจุดเชื่อมต่างๆของท่อจะมารวมกันที่จุดๆเดียว ซึ่งควรจะมีตั้งแต่สามท่อขึ้นไปและไม่เอาปลายท่อใดไปอยู่ตรงส่วนกลางของท่ออื่นๆ เพื่อที่ว่าโครงสร้างนั้นจะรับแรงดึงและแรงอัดเป็นหลัก (เป็น Space Thrust) รูปแบบการใช้น๊อตเป็นตัวยึดนั้นทำให้ข้อต่อต่างๆรับแรงบิดไม่ได้ (รับ Moment ไม่ได้เพราะเป็น Ball-Joint หรือ Pin-Joint) ซึ่งรูปแบบนี้อาจจะโอเคถ้าสามารถต่อกันจนเป็นสามเหลี่ยมสี่หน้าที่สมบูรณ์ได้ แต่ในความเป็นจริงมันทำไม่ได้เพราะโครงสร้างหลักของรถมันจำกัดเอาไว้ ดังนั้นรูปแบบที่เหมาะกว่าจึงเป็นรูปแบบการเชื่อมท่อต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อที่ข้อต่อเหล่านั้นจะได้รับแรงบิดได้ด้วย จากรูปที่นำมาให้ดูเป็นข้อต่อแบบ Pin-Joint Bracket ซึ่งรับแรงบิดไม่ได้ รับได้แค่แรงดึงและแรงอัด(ซึ่งมักถูกกำหนดโดยชิ้นส่วนที่แข็งแรงน้อยที่สุด คือ น๊อตตัวผู้ที่รับแรงเฉือน) ความแข็งแรงก็เป็นรองพวกที่ใช้เชื่อม แต่ถ้าเป็นข้อต่อแบบ Saddle Bracket ก็จะรับแรงบิดที่ข้อต่อได้บ้าง (เพราะทั้ง Saddle และ น๊อตตัวผู้รับแรงบิดไป) แต่โดยมาก Roll Bar ในไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีแบบไหนเป็นแบบ Saddle Bracket มักจะเป็นแบบ Pin-Joint Bracket กันหมดอาจจะเป็นเพราะทำง่ายกว่า และยิ่งใช้ในรถบ้านด้วยแล้วเรื่อง Roll Bar แบบข้อต่อเชื่อมคงแทบเป็นไปไม่ได้ นอกจากว่าจะเป็นแบบครึ่งคันซึ่งมาเชื่อมนอกรถแล้วเอาไปยึดน๊อตลงพื้นรถทีหลัง โดยสรุปแบบสั้นๆที่สุด พวกที่ใช้น๊อตจะไม่แข็งแรงเท่าแบบเชื่อม(เพราะข้อต่อรับแรงบิดไม่ได้ นอกจากแบบ Saddle Bracket) ส่วนที่ว่าเปลี่ยนมุมการยึดนั้น ผมไม่คิดว่ามันจะช่วยได้ เพราะว่าเราไม่ทราบได้เลยว่าที่จุดยึดนั้น มีแรงบิดแบบไหนเกิดขึ้นบ้าง หรือว่าแรงบิดรอบแกนนึงมากหรือน้อยกว่าอีกรอบแกนนึง (ลองจินตนาการดูว่าที่ข้อต่อหนึ่งๆนั้นต้องรับแรงบิดอย่างต่ำ 3 แรงบิด คือ Mx My และ Mz โดย X, Y และ Z เป็นแกนที่ผ่านจุดนั้นๆ) ในกรณีที่โครงสร้างรับแรงแบบต่างๆกันไป เช่น เลี้ยวโค้งซ้าย เลี้ยวโค้งขวา อยู่กลางโค้งพวงมาลัยตรงแต่ล้อด้านในโค้งปีนขาวแดงตัวรถลอยบ้างไม่ลอยบ้าง ขับทางตรงๆไม่ได้โค้งแต่ล้อนึงตกหลุมหรือเหยียบก่อนกรวด ฯลฯ ถ้าจะใส่ Roll Bar นั้นเราไม่ต้องการให้บิดตัวหรือให้ตัวได้ครับ ยิ่งแข็งแรง(Strength) และแกร่ง (Stiff) เท่าไหร่ยิ่งดี โดยแข็งแรงเพื่อให้ทนต่อการกระแทกเวลาเกิดอุบัติเหตุ และแกร่งเพื่อให้รถมี Handling ที่ดี ที่บอกๆกันว่าโครงสร้างรถนั้นต้องให้ตัวได้นิดหน่อย หรือแข็งเกินไปนั้นไม่มีครับ ลองดู Saddle Bracket หน่อยแล้วกัน อันนี้เป็นของ Safety Devices [IMG]http://www.safetydevices.com/images/products/rollcages/step3_boltin_cage_terminoli.gif[/IMG] [COLOR="pink"]ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ GoogGoo [/COLOR] [COLOR="yellow"]PART III[/COLOR] ก่อนอื่นต้องมองก่อนว่า มีจุดประสงค์เอาไว้เพื่อทำอะไร ถ้ามองเรื่องป้องกันการคว่ำ แบบ 4-6 จุดที่ยังยึดด้วยนีอตก็โอเคครับ ถึงยึดด้วยน๊อตก็ยังรับแรงกระแทกกันยุบจากการคว่ำได้ มีดีกว่าไม่มี . . . สำหรับรถถนน ก้ทำได้ประมาณนี้แหละ จะบอกว่าแค่เอาเท่ห์ก็ไม่ใช่ มันยังมีประโยชน์ตามหน้าที่ของมันอยู่ . . . สำหรับระดับรถถนน Stiffness ยังไม่เป็นสิ่งที่จำเป็นมากนัก นั่งรำคายตายเลย ถ้าขืนดามหมด มันเลยเถิดเกินขอบเขตรถถนนแล้วหละ แต่ถ้าต้องการเอาไว้ดามตัวถังเพิ่ม Stiffness . . . โอเค ถ้าต้องการแบบนี้ การยึดน๊อตถือว่าได้ประโยชน์ในวัตถุประสงค์นี้น้อยลงมาก (ยังมีนะครับ ไม่ถึงกับไม่มีเลย ยิ่งถ้ามีเกิน 4 จุด หรือมีตัวไข้วขวางอยู่ ถึงแม้ยึดด้วยน๊อตก็ยังแข็งขึ้นครับ เพราะจุดที่มันจะบิดมันก็งัดกันเอง บิดยากขึ้นครับถึงแม้จะยึดน๊อต) . . . ถ้าต้องการความแข็ง ก็ต้องเชื่อม (เชื่อมไม่เฉพาะจุดที่ท่อชนกัน ต้องเชื่อมลงที่ตัวถังด้วย รวมถึงเชื่อมไปที่เสาหน้าและเสาข้างด้วย) และออกแบบเป็น Triangle จะรับแรงได้มากที่สุดจากน้ำหนักท่อเหล็กที่ใช้เท่าๆกัน รถแข่งทำไปเลยครับ แบบแข็งสุดๆ(Stiff) โดยไม่หนักเกินไป . . รถแข่งไม่ต้องการการบิดตัวของตัวถัง ตัวถังบิดได้ ความสามารถ ความแม่นยำของช่วงล่างที่ออกแบบมาดีๆก้หายไปนิดนึง เพราะปล่อยให้ตัวถังทำงานแทนช่วงล่าง แต่ถึงแม้จะเชื่อมจะแข็ง ก็ไม่ใช่จะไม่บิดนะครับ ยังบิดได้ทั้งนั้นแหละครับ เอาไปขึ้น Jig ดูก็ยังมีบิดบ้างครับ . . นอกจากจะโคตรดามสารพัด จนหนักระเบิด แบบนี้อาจไม่บิด [COLOR="pink"]ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ บุคคลทั่วไป อีกแล้ว[/COLOR] [COLOR="yellow"]PART IV[/COLOR] การใช้น๊อตเป็นตัวยึดจุดเชื่อมต่อ ก็ถือว่าเพียงพอและแข็งแรง ใช้ได้ในระดับหนึ่งแล้วครับ แต่การใช้น๊อตจะต้องขันให้แน่น เพื่อที่จะสมมติว่าโครงสร้างที่ต่อกันนั้น เป็นโครงสร้างชิ้นเดียวกัน ......พื้นฐานการทำโรลบารก็คือการคุ้มครองความปลอดภัยให้กับผู้โดยสาร โดยสมมติฐานว่ามีแรงมากระทำในลักษณะต่างๆ เช่นแรงกระแทกด้านข้าง(จากการชน).... หรือแรงกระแทกจากด้านบน (จากการพลิกคว่ำ) เมื่อเรารู้ลักษณะทิศทางของแรงแล้ว เราจึงมากำหนดออกแบบ ลักษณะของโรลบาร์เพื่อให้สอดคล้อง (ต้านทาน) กับแรงที่มากระทำนั้นๆ นั่นจึงมีที่มาของโรลบาร์แบบ ต่างๆ เช่น ๖ จุด ๘ จุด ๑๒ จุดเป็นต้น..... เมื่อได้ลักษณะของโรลบาร์ในรูปแบบต่างๆแล้ว เราจะเห็นว่า มันจำเป็นจะต้องมีชิ้นส่วนต่างๆมาต่อยึดเชื่อมกันในลักษณะ ๒ แกน ( X / Y ) บ้าง...... ๓ แกน ( X / Y / Z )บ้าง ขั้นตอนตรงนี้ แหละคือที่มาของการต่อชิ้นส่วนโรลบาร์แบบเชื่อม หรือ แบบน็อต - แบบเชื่อม ดีที่สุด เพราะ ทำให้วัสดุชิ้นส่วนของโรลบาร์ ๒ ชิ้น มีคุณลักษณะในการรับแรงเปรียบเสมือน วัสดุชิ้นเดียวกัน.....สามารถ รับ / ถ่ายแรงที่มากระทำ ซึ่งกันและกัน ๑๐๐ % เต็ม แต่ความเป็นไปได้ ในการสร้างโรลบาร์แบบนี้ มีมากน้อย แค่ใหน จำเป็นไหมที่จะต้องทำแบบนี้ - แบบน๊อต ไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุด แต่เมื่อคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ขั้นตอน วิธีการสร้าง เงื่อนใขเรื่องสถานที่ รวมทั้งความแข็งแรงในทางวิศวกรรมแล้ว ค่อนข้างจะลงตัวที่สุด..... ......ความแข็งแรงในทางวิศวกรรมก็คือ ชิ้นส่วนนั้นๆสามารถ ต้านทาน ต่อหน่วยแรง ที่มากระทำ โดยเราอาจจะสมมติ หน่วยแรงขึ้นมาจำนวนหนึ่ง เพื่อที่จะคำนวณหาขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนโรลบาร์ โดยคำนึงถึงแรงดึง / แรงอัด /แรงเฉือน รวมทั้งโมเมนต์ดัด เป็นต้น ขั้นตอนนี้เราก็จะได้ ขนาดหน้าตัดของชิ้นส่วนที่จะทำโรลบาร์ เช่น 1/2 นิ้ว.... 1" นิ้ว..... 11/2 นิ้ว ......อย่างที่กล่าวข้างต้น ว่าโครงสร้างของโรลบาร์ มักจะต้องมีชิ้นส่วนอย่างน้อย ๒ ชิ้น มาต่อเชื่อมกันในลักษณะของแกน X กับ Y เป็นอย่างน้อย เราจึงจำเป็นจะต้องสร้างรอยต่อนั้นๆ ให้เพียงพอสำหรับการรับแรงที่เกิดขึ้นในรอยต่อ (แรงที่รอยต่อก็จะถ่ายมาจาก แรงในชิ้นส่วนของโรลบาร์) ขั้นตอนนี้ผู้รู้เขาจะทราบเองว่า จะทำรอยต่อแบบใหน เพียงพอที่จะ รับแรง/ต้านทาน แรง ที่เกิดขึ้น ตรงรอยต่อนั้นๆ โดยส่วนมากแล้ว แรงตรงรอยต่อของโรลบาร์ เราจะนำมาคิดแค่ แรงดึง / แรงอัด และแรงเฉือนเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องเอา โมเมนต์ (บวก/ลบ) มาคิดแต่อย่างใด เมื่อไม่เอาโมเมนต์มาคิดที่รอยต่อ เราก็ไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการเชื่อมก็ได้ ใช้น็อตเป็นตัวยึดโครงสร้างก็เพียงพอแล้วสำหรับการรับแรงดึง/อัด/เฉือน [COLOR="Pink"]ขอขอบคุณข้อมูลจาก คุณ LADDER 49 [/COLOR][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
EG 3D Club
>
D.I.Y ทำเองได้ ถ้าใจต้องการ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...