เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
MiNi Truck Club
>
รบกวนขอถามวิธีต่อเวสเกตแยกกับปรับบูสมือ+เกจวัดบูส
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="< HANUMARN >, post: 1790100, member: 88038"]<b>หลักการทำงานของเวสเกต</b></p><p><br /></p><p>WASTE GATE</p><p><br /></p><p>เราสังเกตรถซิ่งวิ่งด้วยความเร็วสูงจะมีเสียงดังแผดร้องดังมาจากเครื่องยนต์ ว่าจะเป็นเสียงท่อไอเสียดังก็ไม่ใช่ท่อแตกก็ไม่เชิง ครับมันคือเสียงจากเวสเกตนั้นเอง เสียงที่ดังบ้างครั้งต้องทำให้คนขับและคนนั่งข้างถึง กับแก้วหูชา รถที่ขับอยู่ข้างๆถึงกับตกใจวิ่งกันขวักไขว่ และ มอเตอร์ไซต์ถึงกับหงายท้องล้มตึงไปเลย ข้อดีของมันไม่ได้อยู่ที่การส่งเสียงดังให้มันสะใจ หรือกวน...ชาวบ้าน อ่านอีกสักนิดครับ</p><p>ว่ามันทำอย่างไรและมีประโยชน์อย่างไร </p><p><br /></p><p>:: รู้จักกับ เวสเกต และหน้าที่การทำงาน ::</p><p><br /></p><p>เวสเกต ( WASTE GATE ) หรือแบบเต็มยศ คือWASTE GATE CONTROL BY INTAKE MANIFOLD PRESSURE ชื่อมันยาวไปหน่อยแต่ความหมายของสั้นๆคือประตูระบายของไอเสีย เจ้าเวสเกตมีหน้าที่ควบคุมบูช (แรงดันอากาศ) ของเทอร์โบให้คงที่ตามที่เรากำหนด โดยอาศัยการระบายไอเสียที่จะมาปั่นกันหันเทอร์โบด้านฝั่งไอเสียให้หมุนคงที่ </p><p><br /></p><p>ถ้ายังไม่เข้าใจจะขออธิบาย การทำงานของเทอร์โบในการสร้างแรงบูชนั้นเกิดจากการนำไอเสียที่ปล่อยทิ้งมาผ่านกังหันเทอร์ไบน์ด้านไอเสียทำให้กังหันด้านไอดีหมุนตามด้วยความเร็วสูงจนเกิดแรงอัดอากาศหรือบูช (แรงดันอากาศ) เช่นที่รอบเครื่องยนต์ 4,000 รอบ / นาที เทอร์โบหมุนที่ 60,000 รอบ สามารถสร้างแรงดันอากาศได้ 1.0 bar แล้วถ้าที่รอบเครื่องยนต์ที่ 8,000 รอบ / นาทีล่ะ เทอร์โบก็จะคงหมุนที่ 120,000 รอบที่บูช 2.0 bar ดังนั้นเครื่องยนต์คงทนไม่ไหวพังแน่ เพื่อให้แรงดันอากาศยังคงไว้ที่ 1.0 bar เวสเกตจะต้องทำหน้าที่ระบายไอเสียที่จะมาปั่นกังหันไ อเสียทิ้งออกทางประตูระบายเพื่อยังรักษารอบหมุนของเทอร์โบให้คงที่รอบเครื่องยนต์ 8,000 รอบ / นาที และเทอร์โบก็ยังคงหมุนเท่าเดิมที่ 60,000 รอบ บูชก็จะคงที่ 1.0 bar </p><p><br /></p><p>ชนิดของเวสเกต เวสเกตมี 2 ชนิด </p><p><br /></p><p>ชนิดที่ 1. เวสเกตในตัว </p><p>ลักษณะรูปร่างจะเป็นกระเปาะกลมๆมีขายื่นยาวๆเพื่อที่ จะมาดันประตูระบายไอเสียที่ติดอยู่กับโข่งไอเสียของเทอร์โบ</p><p>เวสเกตแบบนี้ต้องอาศัยเทอร์โบที่มีช่องทำประตูระบายไอเสียมีลักษณะเหมือนลิ้นปิด - เปิด ภายในเวสเกตประกอบด้วยแกนดันลิ้นประกอบติดกับแผ่นไดอะแฟรมและถูกกดทับด้วยสปริงที่กำหนดค่ามาแล้วจากโรงงาน ด้านบนจะมีท่ออากาศเล็กเพื่อเอาไปต่อที่ท่อไอดี เมื่อถึงแรงดันอากาศที่กำหนด แรงดันภายในท่ออากาศจะไปดันแผ่นไดอะแฟรม ให้ชนะแรงกดของสปริงแกนดันลิ้นก็จะขยับออกมาเพื่อไปดันประตูระบายไอเสียให้เปิดออก เวสเกตแบบนี้มักจะติดตั้งมากับเทอร์โบโรงงานที่ตั้งค่ามาแล้วการจะปรับบูชทำได้เช่นการตัดแกนดันลิ้นให้สั้นลง เพื่อให้ลิ้นเปิดได้น้อยลงหรือทำตัวปรับให้ไขสั้น - ยาวได้ หรือใส่ตัวปรับบูชมาลดแรงดันที่ไดอะแฟรม และ การเปลี่ยนเป็นของแต่งจากสำนักต่างๆที่มีการเพิ่มค่าสปริงในตัวมาเลย </p><p><br /></p><p><br /></p><p>ชนิดที่ 2. เวสเกตแยก</p><p>หรือ WASTE GATE VALVE CONTROLLED BY FLOW SENSER พวกนี้จะมีประตูระบายไอเสียในตัว ลักษณะเป็นกระเปาะสองชั้น ด้านล่างเป็นประตูระบายไอเสีย มีวาล์ว ปิด – เปิด มีลักษณะเป็นเหล็กหล่อทนความร้อนมีครีบระบายความร้อน เพื่อไม่ให้สูงจนเกินไป ด้านบนเป็นชุดไดอะแฟรม ประกอบด้วยแผ่นไดอะแฟรมที่ไปกดทับวาล์ว ซึ่งถูกกดด้วยสปริงด้านบนมีแผ่นเพลทที่กดสปริงที่มีสกรูมาปรับขึ้น – ลง เพื่อเพิ่ม – ลดแรงกดของสปริงได้ประกอบอยู่ ในห้องสุญญากาศจะมีท่ออากาศมาต่อยังท่อไอดี เมื่อถึงแรงบูชที่กำหนด ท่ออากาศจะมีแรงดันมายังเวสเกต ห้องสุญญากาศ จนแรงดันชนะแรงกดของสปริง วาล์วก็จะยกตัวระบายไอเสียออกมาทางประตูไอเสีย พวกนี้ด้านบนจะมีสกรูที่สามารถปรับตั้งบูชมาให้ในตัว เลยสะดวกในการปรับตั้งบูชให้สูงขึ้น</p><p><br /></p><p><br /></p><p>:: การเลือกซื้อและการติดตั้ง ::</p><p><br /></p><p>ถ้าเป็นแบบเวสเกตในตัวอาจเลือกซื้อจากสำนักแต่งที่ออกแบบมาตรงรุ่นของเทอร์โบนั้นๆ เพราะถูกจำกัดที่ขายึดเวสเกตและความยาวของแกนดันลิ้นที่ต้องกำหนดมาให้พอดีที่จะทำให้บูชสูงขึ้น แรงกดสปริงมีมากขึ้นลดการขยับเปิดเองของแกนก่อนถึงบูชที่กำหนด ส่วนแบบเวสเกตแยกเป็นที่นิยมเพราะปรับตั้งได้ง่าย และลดการขยับของลิ้นได้ ทำให้ควบคุมบูชได้อย่างแม่นยำ และบูชมาไวขึ้น (บูชมาช้า เกิดจากการที่เวสเกตเปิดก่อนบูชที่กำหนดคือจะค่อยๆเริ่มดันขึ้นเรื่อยๆเมื่อเริ่มเกิดแรงดัน ไอเสียจะถูกระบายทิ้งไม่ผ่านกังหันเทอร์โบแบบเต็มๆ) ในสมัยนี้มีทำกันมากมายหลายยี่ห้อทั้งในและต่างประเทศ มีราคาแพงมาก การเลือกซื้อต้องเลือกให้ตรงกับขนาด และความต้องการในการโมดิฟายเครื่องมีหลายขนาด ในเครื่องที่มีซีซีน้อย สามารถใช้ที่มีขนาดเล็กได้แต่ในเครื่องที่มีขนาดใหญ่ ๆ ซีซีสูง ๆ ต้องเลือกที่มีขนาดใหญ่ขึ้น การติดตั้งเทอร์โบบางรุ่นมีช่องติดตั้งมาให้เลย แต่ถ้าไม่มีต้องทำช่องระบายเช่นการเจาะโข่งไอเสีย การทำหน้าแปลนเสริม และการตีเขาเทอร์โบขึ้นมาใหม่ </p><p><br /></p><p>:: ข้อควรระวัง ::</p><p><br /></p><p>ในการเปลี่ยนเวสเกตควรจะหาเกจ์วัดแรงดันเทอร์โบมาคอยดูแรงอัดอากาศเพื่อไม่ให้สูงเกินไป และดูการผิดปกติในการทำงานของเวสเกต ท่ออากาศต้องต่อในท่อไอดีก่อนเข้าลิ้น เพราะ จะเป็นแรงดันที่แน่นอนของแรงดันเทอร์โบ แบบเวสเกตแยกควรใช้ขนาดให้เหมาะสมกับซีซีเครื่อง เพราะถ้าเล็กเกินไปจะไม่สามารถควบคุมบูชได้ ถ้ามีการต่อร่วมกับปรับบูชไฟฟ้า ต้องต่อท่ออากาศให้ถูกต้องและคอยสังเกตเกจ์วัด เพราะเวสเกตอาจเกิดการเสียหายได้ เช่น ผ้าไดแฟรมขาด ประเก็นท่อไอเสียแตก หรือเขาเทอร์โบแตก บูชจะขึ้นช้า ควบคุมบูชไม่ได้ บูชไม่นิ่ง </p><p><br /></p><p><br /></p><p><br /></p><p>การเลือกซื้อไม่จำเป็น ต้องเป็นของต่างประเทศหรือในประเทศ แต่ควรเลือกที่การรับประกันคุณภาพและในการควบคุมบูช การใช้งานได้ยาวนาน เพราะเวสเกตทำงานกับความร้อน ผ้าไดอะแฟรมเกิดการเปื่อยไหม้ สปริงอาจเกิดการเปลี่ยนค่า K แรงกดจนคุมบูชได้ไม่นิ่ง การกำหนดแรงดัน (บูช) เกิดจากการเปิดของลิ้นว่ามากหรือน้อย ส่วนแรงกดของสปริงจะเป็นตัวไม่ให้วาล์วเปิดก่อนแรงดันที่กำหนด[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="< HANUMARN >, post: 1790100, member: 88038"][b]หลักการทำงานของเวสเกต[/b] WASTE GATE เราสังเกตรถซิ่งวิ่งด้วยความเร็วสูงจะมีเสียงดังแผดร้องดังมาจากเครื่องยนต์ ว่าจะเป็นเสียงท่อไอเสียดังก็ไม่ใช่ท่อแตกก็ไม่เชิง ครับมันคือเสียงจากเวสเกตนั้นเอง เสียงที่ดังบ้างครั้งต้องทำให้คนขับและคนนั่งข้างถึง กับแก้วหูชา รถที่ขับอยู่ข้างๆถึงกับตกใจวิ่งกันขวักไขว่ และ มอเตอร์ไซต์ถึงกับหงายท้องล้มตึงไปเลย ข้อดีของมันไม่ได้อยู่ที่การส่งเสียงดังให้มันสะใจ หรือกวน...ชาวบ้าน อ่านอีกสักนิดครับ ว่ามันทำอย่างไรและมีประโยชน์อย่างไร :: รู้จักกับ เวสเกต และหน้าที่การทำงาน :: เวสเกต ( WASTE GATE ) หรือแบบเต็มยศ คือWASTE GATE CONTROL BY INTAKE MANIFOLD PRESSURE ชื่อมันยาวไปหน่อยแต่ความหมายของสั้นๆคือประตูระบายของไอเสีย เจ้าเวสเกตมีหน้าที่ควบคุมบูช (แรงดันอากาศ) ของเทอร์โบให้คงที่ตามที่เรากำหนด โดยอาศัยการระบายไอเสียที่จะมาปั่นกันหันเทอร์โบด้านฝั่งไอเสียให้หมุนคงที่ ถ้ายังไม่เข้าใจจะขออธิบาย การทำงานของเทอร์โบในการสร้างแรงบูชนั้นเกิดจากการนำไอเสียที่ปล่อยทิ้งมาผ่านกังหันเทอร์ไบน์ด้านไอเสียทำให้กังหันด้านไอดีหมุนตามด้วยความเร็วสูงจนเกิดแรงอัดอากาศหรือบูช (แรงดันอากาศ) เช่นที่รอบเครื่องยนต์ 4,000 รอบ / นาที เทอร์โบหมุนที่ 60,000 รอบ สามารถสร้างแรงดันอากาศได้ 1.0 bar แล้วถ้าที่รอบเครื่องยนต์ที่ 8,000 รอบ / นาทีล่ะ เทอร์โบก็จะคงหมุนที่ 120,000 รอบที่บูช 2.0 bar ดังนั้นเครื่องยนต์คงทนไม่ไหวพังแน่ เพื่อให้แรงดันอากาศยังคงไว้ที่ 1.0 bar เวสเกตจะต้องทำหน้าที่ระบายไอเสียที่จะมาปั่นกังหันไ อเสียทิ้งออกทางประตูระบายเพื่อยังรักษารอบหมุนของเทอร์โบให้คงที่รอบเครื่องยนต์ 8,000 รอบ / นาที และเทอร์โบก็ยังคงหมุนเท่าเดิมที่ 60,000 รอบ บูชก็จะคงที่ 1.0 bar ชนิดของเวสเกต เวสเกตมี 2 ชนิด ชนิดที่ 1. เวสเกตในตัว ลักษณะรูปร่างจะเป็นกระเปาะกลมๆมีขายื่นยาวๆเพื่อที่ จะมาดันประตูระบายไอเสียที่ติดอยู่กับโข่งไอเสียของเทอร์โบ เวสเกตแบบนี้ต้องอาศัยเทอร์โบที่มีช่องทำประตูระบายไอเสียมีลักษณะเหมือนลิ้นปิด - เปิด ภายในเวสเกตประกอบด้วยแกนดันลิ้นประกอบติดกับแผ่นไดอะแฟรมและถูกกดทับด้วยสปริงที่กำหนดค่ามาแล้วจากโรงงาน ด้านบนจะมีท่ออากาศเล็กเพื่อเอาไปต่อที่ท่อไอดี เมื่อถึงแรงดันอากาศที่กำหนด แรงดันภายในท่ออากาศจะไปดันแผ่นไดอะแฟรม ให้ชนะแรงกดของสปริงแกนดันลิ้นก็จะขยับออกมาเพื่อไปดันประตูระบายไอเสียให้เปิดออก เวสเกตแบบนี้มักจะติดตั้งมากับเทอร์โบโรงงานที่ตั้งค่ามาแล้วการจะปรับบูชทำได้เช่นการตัดแกนดันลิ้นให้สั้นลง เพื่อให้ลิ้นเปิดได้น้อยลงหรือทำตัวปรับให้ไขสั้น - ยาวได้ หรือใส่ตัวปรับบูชมาลดแรงดันที่ไดอะแฟรม และ การเปลี่ยนเป็นของแต่งจากสำนักต่างๆที่มีการเพิ่มค่าสปริงในตัวมาเลย ชนิดที่ 2. เวสเกตแยก หรือ WASTE GATE VALVE CONTROLLED BY FLOW SENSER พวกนี้จะมีประตูระบายไอเสียในตัว ลักษณะเป็นกระเปาะสองชั้น ด้านล่างเป็นประตูระบายไอเสีย มีวาล์ว ปิด – เปิด มีลักษณะเป็นเหล็กหล่อทนความร้อนมีครีบระบายความร้อน เพื่อไม่ให้สูงจนเกินไป ด้านบนเป็นชุดไดอะแฟรม ประกอบด้วยแผ่นไดอะแฟรมที่ไปกดทับวาล์ว ซึ่งถูกกดด้วยสปริงด้านบนมีแผ่นเพลทที่กดสปริงที่มีสกรูมาปรับขึ้น – ลง เพื่อเพิ่ม – ลดแรงกดของสปริงได้ประกอบอยู่ ในห้องสุญญากาศจะมีท่ออากาศมาต่อยังท่อไอดี เมื่อถึงแรงบูชที่กำหนด ท่ออากาศจะมีแรงดันมายังเวสเกต ห้องสุญญากาศ จนแรงดันชนะแรงกดของสปริง วาล์วก็จะยกตัวระบายไอเสียออกมาทางประตูไอเสีย พวกนี้ด้านบนจะมีสกรูที่สามารถปรับตั้งบูชมาให้ในตัว เลยสะดวกในการปรับตั้งบูชให้สูงขึ้น :: การเลือกซื้อและการติดตั้ง :: ถ้าเป็นแบบเวสเกตในตัวอาจเลือกซื้อจากสำนักแต่งที่ออกแบบมาตรงรุ่นของเทอร์โบนั้นๆ เพราะถูกจำกัดที่ขายึดเวสเกตและความยาวของแกนดันลิ้นที่ต้องกำหนดมาให้พอดีที่จะทำให้บูชสูงขึ้น แรงกดสปริงมีมากขึ้นลดการขยับเปิดเองของแกนก่อนถึงบูชที่กำหนด ส่วนแบบเวสเกตแยกเป็นที่นิยมเพราะปรับตั้งได้ง่าย และลดการขยับของลิ้นได้ ทำให้ควบคุมบูชได้อย่างแม่นยำ และบูชมาไวขึ้น (บูชมาช้า เกิดจากการที่เวสเกตเปิดก่อนบูชที่กำหนดคือจะค่อยๆเริ่มดันขึ้นเรื่อยๆเมื่อเริ่มเกิดแรงดัน ไอเสียจะถูกระบายทิ้งไม่ผ่านกังหันเทอร์โบแบบเต็มๆ) ในสมัยนี้มีทำกันมากมายหลายยี่ห้อทั้งในและต่างประเทศ มีราคาแพงมาก การเลือกซื้อต้องเลือกให้ตรงกับขนาด และความต้องการในการโมดิฟายเครื่องมีหลายขนาด ในเครื่องที่มีซีซีน้อย สามารถใช้ที่มีขนาดเล็กได้แต่ในเครื่องที่มีขนาดใหญ่ ๆ ซีซีสูง ๆ ต้องเลือกที่มีขนาดใหญ่ขึ้น การติดตั้งเทอร์โบบางรุ่นมีช่องติดตั้งมาให้เลย แต่ถ้าไม่มีต้องทำช่องระบายเช่นการเจาะโข่งไอเสีย การทำหน้าแปลนเสริม และการตีเขาเทอร์โบขึ้นมาใหม่ :: ข้อควรระวัง :: ในการเปลี่ยนเวสเกตควรจะหาเกจ์วัดแรงดันเทอร์โบมาคอยดูแรงอัดอากาศเพื่อไม่ให้สูงเกินไป และดูการผิดปกติในการทำงานของเวสเกต ท่ออากาศต้องต่อในท่อไอดีก่อนเข้าลิ้น เพราะ จะเป็นแรงดันที่แน่นอนของแรงดันเทอร์โบ แบบเวสเกตแยกควรใช้ขนาดให้เหมาะสมกับซีซีเครื่อง เพราะถ้าเล็กเกินไปจะไม่สามารถควบคุมบูชได้ ถ้ามีการต่อร่วมกับปรับบูชไฟฟ้า ต้องต่อท่ออากาศให้ถูกต้องและคอยสังเกตเกจ์วัด เพราะเวสเกตอาจเกิดการเสียหายได้ เช่น ผ้าไดแฟรมขาด ประเก็นท่อไอเสียแตก หรือเขาเทอร์โบแตก บูชจะขึ้นช้า ควบคุมบูชไม่ได้ บูชไม่นิ่ง การเลือกซื้อไม่จำเป็น ต้องเป็นของต่างประเทศหรือในประเทศ แต่ควรเลือกที่การรับประกันคุณภาพและในการควบคุมบูช การใช้งานได้ยาวนาน เพราะเวสเกตทำงานกับความร้อน ผ้าไดอะแฟรมเกิดการเปื่อยไหม้ สปริงอาจเกิดการเปลี่ยนค่า K แรงกดจนคุมบูชได้ไม่นิ่ง การกำหนดแรงดัน (บูช) เกิดจากการเปิดของลิ้นว่ามากหรือน้อย ส่วนแรงกดของสปริงจะเป็นตัวไม่ให้วาล์วเปิดก่อนแรงดันที่กำหนด[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Pickup Car Clubs
>
MiNi Truck Club
>
รบกวนขอถามวิธีต่อเวสเกตแยกกับปรับบูสมือ+เกจวัดบูส
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...