เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
VVL Owners Club Thailand
>
VVL Set โบ์ แชร์ข้อมูล ความรู้ งบประมาณ !!! คุ้มหรือเปล่า
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="oaknakab, post: 1868139, member: 38463"]credit คุณ Moo-Vtec </p><p>ผมเห็นเครื่อง vvl มีเทคโนโลยี ใกล้เคียงกับ honda เลยกะลังหาข้อมูลอยู่ </p><p>เรื่อง set turbo กับเครื่อง n/a จะว่าง่ายก็ไม่ง่ายนัก จะว่ายาก มันก็ไม่ยากซะทีเดียว เพียงขอให้มีความเข้าใจและหลักการทำงานของเครื่อง และระวังในสิ่งที่ควรจะต้องระวัง ให้ความสนใจในรายละเอียดเล็กๆน้อย (และใหญ่ๆด้วย) ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม ไม่ประหยัดต้นทุนจนเกินไป ขับรถอย่าให้เกินลิมิตของมัน เท่านี้ก็จะได้เครื่องเทอร์โบ ที่แรงคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป และอายุเครื่องก็จะยืนยาวด้วยครับ</p><p><br /></p><p>ก่อนจะลงมือทำ ก็ต้องสำรวจความสมบูรณ์ของเครื่องก่อน ถ้าเครื่องมีปัญหา แล้วเซ็ทเทอร์โบ ปัญหาอาจจะบานปลาย หรืออาจจะทำให้เครื่องพังเร็วขึ้น ก็เหมือนกับรถติดแก๊ส ถ้าก่อนติดมีปัญหา พอติดไปแล้ว มีปัญหาอีก ก็อาจจะหาสาเหตุได้ยากขึ้น สิ่งที่ควรจะต้องดูคือ</p><p><br /></p><p>- เรื่องของ กำลังอัด ควรจะต้องเท่ากันทุกสูบและอยู่ในสเปค จะลดหรือไม่ลดกำลังอัด ค่อยว่ากันทีหลัง อันนี้แล้วแต่งบประมาณ </p><p>- เครื่องยนต์จะต้องเดินเรียบ ไม่มีรอบสวิงขึ้นลง แอร์ตัดต่อ ไม่ดึงรอบ ถ้ามีก็แก้ไขกันซะก่อน ล้างลิ้น ตัวช่วยรอบ ตั้งวาวล์</p><p>- อุปกรณ์ส่วนควบอื่นๆ เช่น คลัชท์ เบรค ช่วงล่าง ยาง ควรจะทำซะก่อน เพราะรถมันจะต้องรับแรงบิดมากขึ้น ของเดิมๆ เอาไม่อยู่ </p><p>- ระบบระบายความร้อน อย่างน้อยต้องหม้อน้ำสองแถว ตรวจสอบดูมอเตอร์พัดลมว่ายังทำงานได้ปกติ ลมไม่อ่อน และต้องเติมน้ำยาหม้อน้ำด้วย เพราะเครื่องเทอร์โบจะมีความร้อนมากกกว่าเดิม ถ้าระบายความร้อนออกไม่ทัน จะส่งผลเสียต่อเนื่อง </p><p>- ของเหลวทั้งหมด และสายพานไทม์มิ่ง เปลี่ยนซะหน่อยก็ดี แต่ทำเสร็จแล้วค่อยเปลี่ยนทีหลังก็ได้ อันนี้ไม่ซีเรียส แต่อย่าเพิ่งอัดแล้วกัน</p><p>- อื่นๆ ถ้านึกได้จะมาเพิ่มเติมอีก</p><p><br /></p><p>ต่อมาก็เป็นเรื่องอุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมสำหรับการเซ็ทเทอร์โบ</p><p><br /></p><p>- เทอร์โบ ต้องเลือกให้พอเหมาะ ขนาดเล็กไปบูสมาเร็ว แต่ปลายอั้น ทำให้ความร้อนขึ้นด้วย เทอร์โบใหญ่ไปก็บูสมาช้า ไม่ทันใจ หรือต้องคอยลากรอบเพื่อให้เทอร์โบทำงาน ไม่สะดวกเวลาใช้งาน ช่วงรอบปลายๆ ไม่เหี่ยว และการติดตั้ง อาจจะไม่สะดวกนัก เนื่องจากพื้นที่จำกัด</p><p><br /></p><p>ถ้าเลือกได้ ควรจะเลือกเทอร์โบที่เป็น ball bearing นอกจากว่าจะได้บูสที่มาเร็วแล้ว ยังต้องการน้ำมันเครื่องน้อยกว่าเทอร์โบแบบใช้บูช ทำให้เครื่องไม่ต้องเสียน้ำมันเครื่องส่วนหนึ่ง ไปเลี้ยงเทอร์โบมากเกินไป จนอาจจะทำให้น้ำมันเครื่องไปหล่อลื่นเครื่องยนต์ไม่เพียงพอที่รอบสูงๆ อาจจะเกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนอื่นได้โดยเฉพาะแบริ่ง จากการที่แรงระเบิดของเครื่องยนต์จากการอัดอากศของเทอร์โบมีมากขึ้น แรงกระแทกที่ลูกสูบ ส่งผ่านไปยัง ก้านสูบ แบริ่ง แล้วไปที่ข้อเหวี่ยง โดยมีฟิลม์น้ำมันเครืองคั่นอยู่ระหว่างแบริ่งกับข้อเหวี่ยง เมื่อแรงกระแทกมากขึ้น จะทำให้ฟิลม์น้ำมันเครื่องบางลง หากแรงดันน้ำมันเครื่องตก หรือ ความร้อนของน้ำมันเครื่องสูง จะทำให้ฟิลม์น้ำมันเครื่องบางลงๆ จนมีโอกาสที่ แบริ่งสัมผัสกับข้อเหวี่ยงได้ จะเกิดความสึกหรอและความร้อนเพิ่มขึ้นอย่างมาก ถ้าสภาพนี้เป็นอยู่นานๆ ก็จะเกิดความเสียหาย ที่เรียกว่า แบริ่งละลายได้ </p><p><br /></p><p>.......เรื่องแบริ่งละลาย เอาไว้จะพิมพ์ให้อ่านกันอีกครั้ง เมื่อมีโอกาส.....</p><p><br /></p><p>สำหรับเลือกเทอร์โบใหม่ คงจะไม่มีปัญหา เลือกให้เหมาะกับขนาดเครื่องและความต้องการได้เลย แต่ก็แลกกับกับการใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูงซักหน่อย สำหรับโดยทั่วๆไป ก็จะใช้เทอร์โบมือสองกัน การเลือกซื้อก็ดูในเรื่องของความจุของเครื่องที่เทอร์โบตัวนั้นติดมา ขอให้ใกล้เคียงกับเครื่องที่เราใช้ อย่าง d15b เครื่อง 1500 ก็พยายามหาเทอร์โบของเครื่อง 1500 -1600 มาใช้ ถ้าใช้เทอร์โบเครื่อง 1800-2000 เทอร์โบอาจจะมาช้าไปหน่อย ถ้าจะโมเพิ่มสเตป เอาไว้เปลี่ยนตอนหลังจะดีกว่า </p><p><br /></p><p>เท่าที่ดูๆ ก็มีพวก IHI RHB52 ที่ใช้อยู่ในเครื่อง B6 ของมาสด้า (รวมไปถึง vios ด้วย) ซึ่งรหัสนี้ ยังมีใช้ในเครื่องดีเซลของหลายยี่ห้อ มีทั้ง อีซูสุ โตโยต้า มาสด้า แต่ปากทางเข้าเทอร์โบต่างกันตามความจุของเครื่อง และขนาดของโข่งเทอร์โบก็ต่างกัน ราคาอยู่ระหว่าง 2500-4000 แล้วแต่สภาพ (ของใหม่ของอีซูสุ เคยถามตามร้านอะไหล่ตรงคลองตัน ขายลูกละ 1 หมื่น) </p><p>แล้วก็มีเทอร์โบ การ์แร๊ตของนิสสันเครื่อง E15ET แต่เทอร์โบรุ่นนี้ค่อนข้างเก่า หาได้ยากแล้ว </p><p>เทอร์โบจากฮุนไดสคู๊ป ตัวแรก รหัส T15 ของเกาหลี ผลิตให้โดยการ์แร๊ตเหมือนกัน เก่าและหายาก อย่าไปสนใจดีกว่า </p><p>เทอร์โบจากเครื่อง CA18DET รหัส T25 ตัวนี้พอไหว แต่อาจจะมาช้าไปนิดเพราะมันสำหรับเครื่อง 1800 </p><p>แล้วก็มีเทอร์โบของเครื่อง J twin turbo ซึ่งมีทั้ง 1J และ 2J สำหรับ 1J เราเอามาใช้ตัวเดียว ออกจะเล็กไปซักหน่อย เพราะเครื่อง 1J ความจุ 2500 หารสองเท่ากับเครื่อง 1250 cc เท่านั้นเอง รหัสเทอร์โบ CT9A ผลิตให้โดยฮิตาชิ ของเครื่อง 2J จะเป็นเทอร์โบแบบ ซีเควนเชียล คือ มันจะทำงานทีละตัว ทำตัวเล็กก่อนแล้วค่อยทำตัวใหญ่ ตัวเล็กของ 2J รหัส CT9B ทั้งโข่งหน้าและโข่งหลังจะใหญ่กว่า CT9A ของ 1J (ส่วนตัวใหญ่รหัส CT26) ตัวนี้ก็เหมาะที่จะเอามาใส่กับเครื่อง d15b .....ถ้าจำรหัสผิดก็ขออภัยด้วย...... </p><p><br /></p><p>การเลือกเทอร์โบมือสอง </p><p>ดูสภาพภายนอก ดูใหม่ ใบหน้าหลังไม่บิ่น ไม่มีคราบน้ำมัน ระยะห่างของใบกับโข่ง ต้องค่อนข้างชิด ไม่ห่าง ใบไอเสีย ไม่มีเขม่าดำ-เหนียวจับ ใบต้องหมุนได้คล่อง ไม่ติดขัด เวลาโยกใบ คลอนได้เล็กน้อยถึงน้อยมากๆ (สำหรับเทอร์โบแบบบูช) และไม่ควรจะคลอนเลยสำหรับเทอร์โบแบบบอลแบริ่ง ท่อน้ำมันเข้าออกควรมีอะไรอุดไว้ป้องกันสิ่งสกปรกหลุดเข้าไปทำให้แกนเทอร์โบเสียได้ ถ้ามีเวสเกตกระป๋อง ก็ต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ควรมีสนิมเพราะอาจจะทำให้ไดอะแฟรมข้างในรั่วได้ ขาต้องไม่มีการดัดหรือตัดต่อมา แนวการเปิด-ปิดเวสเกตจะต้องอยู่ในแนวตั้งฉาก กับก้านเปิดประตูเวสเกต.....[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="oaknakab, post: 1868139, member: 38463"]credit คุณ Moo-Vtec ผมเห็นเครื่อง vvl มีเทคโนโลยี ใกล้เคียงกับ honda เลยกะลังหาข้อมูลอยู่ เรื่อง set turbo กับเครื่อง n/a จะว่าง่ายก็ไม่ง่ายนัก จะว่ายาก มันก็ไม่ยากซะทีเดียว เพียงขอให้มีความเข้าใจและหลักการทำงานของเครื่อง และระวังในสิ่งที่ควรจะต้องระวัง ให้ความสนใจในรายละเอียดเล็กๆน้อย (และใหญ่ๆด้วย) ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม ไม่ประหยัดต้นทุนจนเกินไป ขับรถอย่าให้เกินลิมิตของมัน เท่านี้ก็จะได้เครื่องเทอร์โบ ที่แรงคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป และอายุเครื่องก็จะยืนยาวด้วยครับ ก่อนจะลงมือทำ ก็ต้องสำรวจความสมบูรณ์ของเครื่องก่อน ถ้าเครื่องมีปัญหา แล้วเซ็ทเทอร์โบ ปัญหาอาจจะบานปลาย หรืออาจจะทำให้เครื่องพังเร็วขึ้น ก็เหมือนกับรถติดแก๊ส ถ้าก่อนติดมีปัญหา พอติดไปแล้ว มีปัญหาอีก ก็อาจจะหาสาเหตุได้ยากขึ้น สิ่งที่ควรจะต้องดูคือ - เรื่องของ กำลังอัด ควรจะต้องเท่ากันทุกสูบและอยู่ในสเปค จะลดหรือไม่ลดกำลังอัด ค่อยว่ากันทีหลัง อันนี้แล้วแต่งบประมาณ - เครื่องยนต์จะต้องเดินเรียบ ไม่มีรอบสวิงขึ้นลง แอร์ตัดต่อ ไม่ดึงรอบ ถ้ามีก็แก้ไขกันซะก่อน ล้างลิ้น ตัวช่วยรอบ ตั้งวาวล์ - อุปกรณ์ส่วนควบอื่นๆ เช่น คลัชท์ เบรค ช่วงล่าง ยาง ควรจะทำซะก่อน เพราะรถมันจะต้องรับแรงบิดมากขึ้น ของเดิมๆ เอาไม่อยู่ - ระบบระบายความร้อน อย่างน้อยต้องหม้อน้ำสองแถว ตรวจสอบดูมอเตอร์พัดลมว่ายังทำงานได้ปกติ ลมไม่อ่อน และต้องเติมน้ำยาหม้อน้ำด้วย เพราะเครื่องเทอร์โบจะมีความร้อนมากกกว่าเดิม ถ้าระบายความร้อนออกไม่ทัน จะส่งผลเสียต่อเนื่อง - ของเหลวทั้งหมด และสายพานไทม์มิ่ง เปลี่ยนซะหน่อยก็ดี แต่ทำเสร็จแล้วค่อยเปลี่ยนทีหลังก็ได้ อันนี้ไม่ซีเรียส แต่อย่าเพิ่งอัดแล้วกัน - อื่นๆ ถ้านึกได้จะมาเพิ่มเติมอีก ต่อมาก็เป็นเรื่องอุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมสำหรับการเซ็ทเทอร์โบ - เทอร์โบ ต้องเลือกให้พอเหมาะ ขนาดเล็กไปบูสมาเร็ว แต่ปลายอั้น ทำให้ความร้อนขึ้นด้วย เทอร์โบใหญ่ไปก็บูสมาช้า ไม่ทันใจ หรือต้องคอยลากรอบเพื่อให้เทอร์โบทำงาน ไม่สะดวกเวลาใช้งาน ช่วงรอบปลายๆ ไม่เหี่ยว และการติดตั้ง อาจจะไม่สะดวกนัก เนื่องจากพื้นที่จำกัด ถ้าเลือกได้ ควรจะเลือกเทอร์โบที่เป็น ball bearing นอกจากว่าจะได้บูสที่มาเร็วแล้ว ยังต้องการน้ำมันเครื่องน้อยกว่าเทอร์โบแบบใช้บูช ทำให้เครื่องไม่ต้องเสียน้ำมันเครื่องส่วนหนึ่ง ไปเลี้ยงเทอร์โบมากเกินไป จนอาจจะทำให้น้ำมันเครื่องไปหล่อลื่นเครื่องยนต์ไม่เพียงพอที่รอบสูงๆ อาจจะเกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนอื่นได้โดยเฉพาะแบริ่ง จากการที่แรงระเบิดของเครื่องยนต์จากการอัดอากศของเทอร์โบมีมากขึ้น แรงกระแทกที่ลูกสูบ ส่งผ่านไปยัง ก้านสูบ แบริ่ง แล้วไปที่ข้อเหวี่ยง โดยมีฟิลม์น้ำมันเครืองคั่นอยู่ระหว่างแบริ่งกับข้อเหวี่ยง เมื่อแรงกระแทกมากขึ้น จะทำให้ฟิลม์น้ำมันเครื่องบางลง หากแรงดันน้ำมันเครื่องตก หรือ ความร้อนของน้ำมันเครื่องสูง จะทำให้ฟิลม์น้ำมันเครื่องบางลงๆ จนมีโอกาสที่ แบริ่งสัมผัสกับข้อเหวี่ยงได้ จะเกิดความสึกหรอและความร้อนเพิ่มขึ้นอย่างมาก ถ้าสภาพนี้เป็นอยู่นานๆ ก็จะเกิดความเสียหาย ที่เรียกว่า แบริ่งละลายได้ .......เรื่องแบริ่งละลาย เอาไว้จะพิมพ์ให้อ่านกันอีกครั้ง เมื่อมีโอกาส..... สำหรับเลือกเทอร์โบใหม่ คงจะไม่มีปัญหา เลือกให้เหมาะกับขนาดเครื่องและความต้องการได้เลย แต่ก็แลกกับกับการใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูงซักหน่อย สำหรับโดยทั่วๆไป ก็จะใช้เทอร์โบมือสองกัน การเลือกซื้อก็ดูในเรื่องของความจุของเครื่องที่เทอร์โบตัวนั้นติดมา ขอให้ใกล้เคียงกับเครื่องที่เราใช้ อย่าง d15b เครื่อง 1500 ก็พยายามหาเทอร์โบของเครื่อง 1500 -1600 มาใช้ ถ้าใช้เทอร์โบเครื่อง 1800-2000 เทอร์โบอาจจะมาช้าไปหน่อย ถ้าจะโมเพิ่มสเตป เอาไว้เปลี่ยนตอนหลังจะดีกว่า เท่าที่ดูๆ ก็มีพวก IHI RHB52 ที่ใช้อยู่ในเครื่อง B6 ของมาสด้า (รวมไปถึง vios ด้วย) ซึ่งรหัสนี้ ยังมีใช้ในเครื่องดีเซลของหลายยี่ห้อ มีทั้ง อีซูสุ โตโยต้า มาสด้า แต่ปากทางเข้าเทอร์โบต่างกันตามความจุของเครื่อง และขนาดของโข่งเทอร์โบก็ต่างกัน ราคาอยู่ระหว่าง 2500-4000 แล้วแต่สภาพ (ของใหม่ของอีซูสุ เคยถามตามร้านอะไหล่ตรงคลองตัน ขายลูกละ 1 หมื่น) แล้วก็มีเทอร์โบ การ์แร๊ตของนิสสันเครื่อง E15ET แต่เทอร์โบรุ่นนี้ค่อนข้างเก่า หาได้ยากแล้ว เทอร์โบจากฮุนไดสคู๊ป ตัวแรก รหัส T15 ของเกาหลี ผลิตให้โดยการ์แร๊ตเหมือนกัน เก่าและหายาก อย่าไปสนใจดีกว่า เทอร์โบจากเครื่อง CA18DET รหัส T25 ตัวนี้พอไหว แต่อาจจะมาช้าไปนิดเพราะมันสำหรับเครื่อง 1800 แล้วก็มีเทอร์โบของเครื่อง J twin turbo ซึ่งมีทั้ง 1J และ 2J สำหรับ 1J เราเอามาใช้ตัวเดียว ออกจะเล็กไปซักหน่อย เพราะเครื่อง 1J ความจุ 2500 หารสองเท่ากับเครื่อง 1250 cc เท่านั้นเอง รหัสเทอร์โบ CT9A ผลิตให้โดยฮิตาชิ ของเครื่อง 2J จะเป็นเทอร์โบแบบ ซีเควนเชียล คือ มันจะทำงานทีละตัว ทำตัวเล็กก่อนแล้วค่อยทำตัวใหญ่ ตัวเล็กของ 2J รหัส CT9B ทั้งโข่งหน้าและโข่งหลังจะใหญ่กว่า CT9A ของ 1J (ส่วนตัวใหญ่รหัส CT26) ตัวนี้ก็เหมาะที่จะเอามาใส่กับเครื่อง d15b .....ถ้าจำรหัสผิดก็ขออภัยด้วย...... การเลือกเทอร์โบมือสอง ดูสภาพภายนอก ดูใหม่ ใบหน้าหลังไม่บิ่น ไม่มีคราบน้ำมัน ระยะห่างของใบกับโข่ง ต้องค่อนข้างชิด ไม่ห่าง ใบไอเสีย ไม่มีเขม่าดำ-เหนียวจับ ใบต้องหมุนได้คล่อง ไม่ติดขัด เวลาโยกใบ คลอนได้เล็กน้อยถึงน้อยมากๆ (สำหรับเทอร์โบแบบบูช) และไม่ควรจะคลอนเลยสำหรับเทอร์โบแบบบอลแบริ่ง ท่อน้ำมันเข้าออกควรมีอะไรอุดไว้ป้องกันสิ่งสกปรกหลุดเข้าไปทำให้แกนเทอร์โบเสียได้ ถ้ามีเวสเกตกระป๋อง ก็ต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ควรมีสนิมเพราะอาจจะทำให้ไดอะแฟรมข้างในรั่วได้ ขาต้องไม่มีการดัดหรือตัดต่อมา แนวการเปิด-ปิดเวสเกตจะต้องอยู่ในแนวตั้งฉาก กับก้านเปิดประตูเวสเกต.....[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Nissan Car Clubs
>
VVL Owners Club Thailand
>
VVL Set โบ์ แชร์ข้อมูล ความรู้ งบประมาณ !!! คุ้มหรือเปล่า
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...