เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
D.I.Y.
>
D.I.Y. แอร์รถยนต์ด้วยตนเองคับ (ใครรถติดไฟแดงนานๆแล้วแอร์ไม่เย็น เข้ามาคับ)
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="คนปากช่อง, post: 108936, member: 53325"]เย้ เข้าใจ super heat กับ sub cool แล้ว ลองไปอ่านกระทู้เดิมใน pantip อีกทีครับ คุณ professor มาอธิบายเพิ่มแล้ว หลังจากไปอ่าน บทความที่เขาให้มา กับถามคำถามอีกหน่อยก็เริ่มเข้าใจแล้ว</p><p><br /></p><p>super heat คือ จุดที่น้ำยาแอร์ฉีดเข้าไปใน evap แล้วดูดความร้อน เปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอจนหมด ตัวอย่างเช่น R22 ที่ความดัน 70 psi อุณหภูมิช่วงเปลี่ยนสถานะ(Saturated temp) จะอยู่ที่ 5 องศา จุดนี้ใน evap จะมีทั้งสารทำความเย็น ในสถานะของเหลวและแก๊ส ค่าอุณหภูมิที่อยู่ในช่วงนี้จะคงที่อยู่ที่ 5 องศา จนกว่า R22 จะดูดความร้อนจนกลายเป็นไอจนหมด จากนั้นไอR22 ดูดความร้อนต่อไป ทำให้ temp สูงเกินกว่าจุดเปลี่ยนสถานะ อุณหภูมิส่วนที่เกินจาก 5 องศานี่แหละที่เป็น super heat การเติมน้ำยาให้พอดี ต้องคุมให้ super heat อยู่ที่ 5-7 องศาเพื่อให้แน่ใจว่า R22 กลายเป็นไอจนหมด ไม่มีR22 ที่เป็นของเหลวเหลือกลับเข้าคอมแอร์อีก </p><p><br /></p><p>การวัด superheat ตอนเติมน้ำยาR22 ทำโดย</p><p>1 ต่อเกจ์เข้า suction เติมน้ำยา วัดแรงดันให้ได้ที่ 70 psi ซึ่ง sat tempของ R22 เป็น 5 องศา </p><p>2 เดินเครื่องแอร์สัก 15 นาทีเพื่อให้อุณหภูมิของไอน้ำยา R22 ที่ท่อดูดคงที่ถึงระดับที่ต้องการวัด </p><p>3 วัดดูค่าอุณหภูมิที่ท่อดูด ให้ได้สัก 10-12 องศา เพื่อให้ได้ super heat ที่ 5-7 องศา</p><p>4 ถ้าต้องการลดอุณหภูมิท่อดูดลง ให้เพิ่มน้ำยาเข้าไป ถ้าต้องการเพิ่มอุณหภูมิท่อดูดให้สูงขึ้นให้ปล่อยน้ำยาออก </p><p>5 การคิด super heat ในกรณีนี้คือ super heat= อุณหภูมิท่อดูด - อุณหภูมิเปลี่ยนสถานะR22 </p><p> super heat = 12 - 5 = 7 องศา</p><p>6 เหตุผลที่ให้วัดท่อดูดที่ 12 องศา เพราะ แม้ อุณหภูมิไอ R22 ในท่อจะอยู่ที่ 10 องศา(ซึ่งเราไม่มีทางวัด อุณหภูมิไอในท่อได้) แต่มันไม่สามารถถ่ายเทมาที่ผนังท่อดูดได้ทั้งหมด ทำให้อุณหภูมิที่ผิวนอกท่อดูดสูงกว่าไอR22 ในท่ออยู่เล็กน้อย ผมตีให้ส่วนต่างนี้ที่ 2 องศาโดยประมาณ จึงกะไว้ที่ 12 องศา</p><p><br /></p><p>ที่พูดมานั้นคือsuper heatของ R22 ส่วนของ COLD22 ผมต้องดูว่าที่ความดันไอ 70 PSI ค่า อุณหภูมิเปลี่ยนสถานะ sat temp ของ COLD22 เป็นเท่าใด ต้องรบกวนคุณ ter ช่วยหาข้อมูลให้แล้วครับ ถ้าหาไม่ได้จริงๆ COLD22 มันมี propane เป็นส่วนประกอปหลักกว่า 99% เลย ผมคงใช้ค่า sat temp ของ propane เพื่อคำนวน super heat ของ COLD22 แทน</p><p><br /></p><p>ถ้าเราเข้าใจตรงนี้แล้ว เราจะสามารถเติมน้ำยาให้ได้จุดพอดี ที่แอร์จะทำงานเต็มความสามารถอย่างที่คุณ จินนี่ถามไงครับ คราวนี้ไม่ต้องเดาแล้ว ทำง่ายกว่าที่คิดเสียอีก ผมยังไม่เคยเห็นช่างแอร์ที่ไหนเติมน้ำยาโดยดูค่า super heat เลย </p><p><br /></p><p>ถ้าผมผิดพลาดตรงไหน ช่วยแก้ไขด้วยนะครับ[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="คนปากช่อง, post: 108936, member: 53325"]เย้ เข้าใจ super heat กับ sub cool แล้ว ลองไปอ่านกระทู้เดิมใน pantip อีกทีครับ คุณ professor มาอธิบายเพิ่มแล้ว หลังจากไปอ่าน บทความที่เขาให้มา กับถามคำถามอีกหน่อยก็เริ่มเข้าใจแล้ว super heat คือ จุดที่น้ำยาแอร์ฉีดเข้าไปใน evap แล้วดูดความร้อน เปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอจนหมด ตัวอย่างเช่น R22 ที่ความดัน 70 psi อุณหภูมิช่วงเปลี่ยนสถานะ(Saturated temp) จะอยู่ที่ 5 องศา จุดนี้ใน evap จะมีทั้งสารทำความเย็น ในสถานะของเหลวและแก๊ส ค่าอุณหภูมิที่อยู่ในช่วงนี้จะคงที่อยู่ที่ 5 องศา จนกว่า R22 จะดูดความร้อนจนกลายเป็นไอจนหมด จากนั้นไอR22 ดูดความร้อนต่อไป ทำให้ temp สูงเกินกว่าจุดเปลี่ยนสถานะ อุณหภูมิส่วนที่เกินจาก 5 องศานี่แหละที่เป็น super heat การเติมน้ำยาให้พอดี ต้องคุมให้ super heat อยู่ที่ 5-7 องศาเพื่อให้แน่ใจว่า R22 กลายเป็นไอจนหมด ไม่มีR22 ที่เป็นของเหลวเหลือกลับเข้าคอมแอร์อีก การวัด superheat ตอนเติมน้ำยาR22 ทำโดย 1 ต่อเกจ์เข้า suction เติมน้ำยา วัดแรงดันให้ได้ที่ 70 psi ซึ่ง sat tempของ R22 เป็น 5 องศา 2 เดินเครื่องแอร์สัก 15 นาทีเพื่อให้อุณหภูมิของไอน้ำยา R22 ที่ท่อดูดคงที่ถึงระดับที่ต้องการวัด 3 วัดดูค่าอุณหภูมิที่ท่อดูด ให้ได้สัก 10-12 องศา เพื่อให้ได้ super heat ที่ 5-7 องศา 4 ถ้าต้องการลดอุณหภูมิท่อดูดลง ให้เพิ่มน้ำยาเข้าไป ถ้าต้องการเพิ่มอุณหภูมิท่อดูดให้สูงขึ้นให้ปล่อยน้ำยาออก 5 การคิด super heat ในกรณีนี้คือ super heat= อุณหภูมิท่อดูด - อุณหภูมิเปลี่ยนสถานะR22 super heat = 12 - 5 = 7 องศา 6 เหตุผลที่ให้วัดท่อดูดที่ 12 องศา เพราะ แม้ อุณหภูมิไอ R22 ในท่อจะอยู่ที่ 10 องศา(ซึ่งเราไม่มีทางวัด อุณหภูมิไอในท่อได้) แต่มันไม่สามารถถ่ายเทมาที่ผนังท่อดูดได้ทั้งหมด ทำให้อุณหภูมิที่ผิวนอกท่อดูดสูงกว่าไอR22 ในท่ออยู่เล็กน้อย ผมตีให้ส่วนต่างนี้ที่ 2 องศาโดยประมาณ จึงกะไว้ที่ 12 องศา ที่พูดมานั้นคือsuper heatของ R22 ส่วนของ COLD22 ผมต้องดูว่าที่ความดันไอ 70 PSI ค่า อุณหภูมิเปลี่ยนสถานะ sat temp ของ COLD22 เป็นเท่าใด ต้องรบกวนคุณ ter ช่วยหาข้อมูลให้แล้วครับ ถ้าหาไม่ได้จริงๆ COLD22 มันมี propane เป็นส่วนประกอปหลักกว่า 99% เลย ผมคงใช้ค่า sat temp ของ propane เพื่อคำนวน super heat ของ COLD22 แทน ถ้าเราเข้าใจตรงนี้แล้ว เราจะสามารถเติมน้ำยาให้ได้จุดพอดี ที่แอร์จะทำงานเต็มความสามารถอย่างที่คุณ จินนี่ถามไงครับ คราวนี้ไม่ต้องเดาแล้ว ทำง่ายกว่าที่คิดเสียอีก ผมยังไม่เคยเห็นช่างแอร์ที่ไหนเติมน้ำยาโดยดูค่า super heat เลย ถ้าผมผิดพลาดตรงไหน ช่วยแก้ไขด้วยนะครับ[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
D.I.Y.
>
D.I.Y. แอร์รถยนต์ด้วยตนเองคับ (ใครรถติดไฟแดงนานๆแล้วแอร์ไม่เย็น เข้ามาคับ)
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...